Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/825
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิกรณ์ รักษ์ปวงชนth_TH
dc.contributor.authorปิยะบุตร บุญธรรม, 2527-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-20T06:31:03Z-
dc.date.available2022-08-20T06:31:03Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/825en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม. (กฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2557th_TH
dc.description.abstractการวิจัยเรื่องมาตรการใช้บังคับวิธีการเพื่อความปลอดภัยแทนโทษจําคุก มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาแนวคิดและทฤษฎี ตลอดจนหลักเกณฑ์ทางกฎหมายของการใช้วิธีการเพื่อความปลอดภัยในประเทศ และต่างประเทศรวมทั้งทําการศึกษาวิเคราะห์และเปรียบเทียบแนวคิด ทฤษฎีและหลักเกณฑ์ทางกฎหมาย ว่าด้วยวิธีการเพื่อความปลอดภัยของไทยกับของต่างประเทศเพื่อเสนอแนะแนวทางในการใช้วิธีการเพื่อความปลอดภัย โดยนํามาใช้กับระบบกฎหมายของประเทศไทย งานวิจัยเรื่องนี้เป็นการวิจัยทางกฎหมาย โดยการวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยการวิจัยด้านเอกสาร และตําราทางกฎหมาย ตลอดจนศึกษาค้นคว้าเอกสารในส่วนที่เกี่ยวข้องกับวิธีการเพื่อความปลอดภัยทั้ง ของประเทศไทยและของต่างประเทศ โดยการศึกษาวิธีการเพื่อความปลอดภัยของประเทศสาธารณรัฐ ฝรั่งเศส ประเทศสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี และประเทศญี่ปุ่น เพื่อเสนอแนะแนวทางในการแก้ไข ปรับปรุงกฎหมายของประเทศไทยให้สอดคล้องกับสภาพของสังคมไทยในปัจจุบัน ผลการศึกษาพบว่า ปัจจุบันกระบวนการยุติธรรมทางอาญาของไทยมุ่งเน้นไปที่การบังคับ โทษจําคุกซึ่งถือว่าเป็นมาตรการในการปราบปรามผู้กระทําความผิดมากกว่าที่จะบังคับใช้วิธีการเพื่อความปลอดภัยซึ่งเป็นมาตรการในการป้องกันการกระทําความผิดและนอกจากนี้ยังพบว่าประมวลกฎหมายอาญาของไทยในหมวดว่าด้วยวิธีการเพื่อความปลอดภัยไม่มีความเหมาะสมกับสภาพสังคมไทยในปัจจุบัน ทําให้เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องไม่บังคับใช้วิธีการเพื่อความปลอดภัยอย่างจริงจัง นํามาซึ่งปัญหาความแออัดของผู้ต้องขังในเรือนจําดังนั้น เพื่อให้การแก้ปัญหาดังกล่าวข้างต้น จึงเห็นควรนําวิธีการเพื่อความปลอดภัยซึ่งเป็นอีกหนึ่งมาตรการในการเลี่ยงโทษจําคุกและเป็นมาตรการในการป้องกันการกระทํา ความผิด โดยเสนอให้มีการแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายอาญาตั้งแต่มาตรา 39 - 50 มาตรา 194 และ มาตรา 196 ให้มีความทันสมัย ชัดเจน และสามารถบังคับใช้ได้อย่างเป็นรูปธรรมซึ่งหากหน่วยงานของรัฐ ในกระบวนการยุติธรรมสามารถนํามาตรการ วิธีการเพื่อความปลอดภัยที่ได้รับการแก้ไขมาบังคับใช้ควบคู่กับมาตรการในการปราบปรามผู้กระทําความผิด กล่าวคือ การบังคับโทษจําคุก อย่างเป็นระบบได้ สัดส่วนสอดคล้องต้องกันตามหลักความสมควรแก่่เหตุ ปัญหาอาชญากรรมในสังคมที่มีแนวโน้มว่าจะเพิ่มมากขึ้นทุกๆ ปี ก็จะสามารถควบคุมได้ และมีปริมาณลดลงอันจะส่งผลให้กระบวนการยุติธรรมทางอาญา มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2014.72en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectวิธีการเพื่อความปลอดภัยth_TH
dc.subjectกระบวนการกำหนดโทษคดีอาญาth_TH
dc.subjectการลงโทษth_TH
dc.titleมาตรการใช้บังคับวิธีการเพื่อความปลอดภัยแทนโทษจำคุกth_TH
dc.title.alternativeMeasures to secure the enforcement of the sentence imposed instead of imprisonmenten_US
dc.typeThesisen_US
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2014.72en_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe propose of the research entitled “Measure for Safety Instead of Imprisonment” are to study the fundamental ideas, rationales and theories of the measure of safety as well as the legal basis related to the use of the measure of safety in Thailand and some foreign countries. This is included, the legal concepts, theories and principles used to govern the measure of safety in Thailand and some foreign countries will be compared and analyzed for ascertaining the suggestions for improving the measure of safety in Thai legal system. This research is a quantitative research by analysis documentary and legal text books including study on document related measure for safety instead of imprisonment in Thailand and France, Germany and Japan. In order to give an advise to the government or related authorized agencies to review criminal code of Thailand. The study found that the current criminal justice system in Thailand tended to use imprisonment instead of the measure of safety although the measure of safety was the legal means for the prevent in of offenses. In the regards, it was revealed that the Criminal Code of Thailand, especially in the section related to the measure of safety has been in force since B.E. 2499. In the modern era, the law was considered obsolete and not suitable for current Thai Society as the authority could not use the measure of safety in efficient manner, leading to the overcrowding of prisoners. To resolve the aforementioned problems, it was suggested to use the measure of safety instead of imprisonment moreover, the amendments to the Criminal Code Section 39-50 and Section 194 and Section 196 should have been made to make them more modernized and efficient. If the governmental authority in criminal justice system would take into account the amended measure of safety along with the imprisonment in proportional and reasonable manners corresponding to the offenses. Crime rate that was likely to increase every year might be decreased and became under control.en_US
dc.contributor.coadvisorวิมาน กฤตพลวิมานth_TH
Appears in Collections:Law-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib150150.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.5 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons