Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8271
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจีระ ประทีป, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorรัชนีพร พันแสง, 2507-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-07-27T03:21:08Z-
dc.date.available2023-07-27T03:21:08Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8271-
dc.description.abstractการวิจัยเรื่องยุทธศาสตร์กลุ่มงานทันตกรรมโรงพยาบาลลำปาง มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาวิเคราะห์สภาพแวดล้อมของกลุ่มงานทันตกรรม โรงพยาบาลลำปาง จังหวัดลำปาง (2) เพื่อเสนอยุทธศาสตร์กลุ่มงาน ทันตกรรมโรงพยาบาลลำปาง จังหวัดลำปาง รูปแบบการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือแบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง ประชากรที่ศึกษา ได้แก่ บุคลากรทั้งหมดที่ปฏิบัติการในกลุ่มงานทันตกรรมโรงพยาบาลลำปาง จำนวน 43 คน ทั้งที่เป็นขาราชการและลูกจ้างโดยผู้วิจัยเป็นผู้สัมภาษณ์เอง และการเก็บข้อมูลโดยใช้วิธีการสนทนากลุ่ม ผู้เข้าร่วมสนทนากลุ่มได้แก่ ทันตแพทย์ที่มีส่วน เกี่ยวข้องกับการ กำหนดนโยบายในกลุ่มงานทันตกรรม โรงพยาบาลลำปาง จำนวน 17 คน การวิเคราะห์ ข้อมูลใช้วิธีการวิเคราะห์เนื้อหา โดยการวิเคราะห์สรุปข้อมูลที่ได้จากการศึกษาเอกสารและข้อมูลภาคสนามจากการสัมภาษณ์ และประเด็นการสนทนากลุ่ม ผลการวิจัยพบว่า (1) สภาพแวดล้อมของกลุ่มงานทันตกรรมโรงพยาบาลลำปาง มีจุดแข็ง คือเป็นหน่วยงานที่มีโครงสร้างการทำงานที่เป็นระบบ จุดอ่อน คือการให้บริการทางทันตสุขภาพไม่ เพียงพอต่อความต้องการของผู้รับบริการ ด้านโอกาส นโยบายของรัฐบาลให้การสนับสนุน การบูรณาการขององค์กรในด้านงบประมาณ งานบริการทันตสาธารณสุขการบริการเครือข่ายและการพัฒนาบุคลากร ด้านอุปสรรค นโยบายการเมืองที่เปลี่ยนแปลงบ่อย มีผลต่อแผนงานประจำ ทำให้ต้องทำแผนเร่งด่วนและต้องปรับแผนปกติตาม (2) ข้อเสนอยุทธศาสตร์กลุ่มงานทันตกรรมโรงพยาบาลลำปาง ประกอบด้วย 5 ยุทธศาสตร์ดังนี้ยุทธศาสตร์ที่ 1 การบริหารแบบบูรณาการสู่การพัฒนากลุ่มงานทันตกรรม ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาบริการทันตสุขภาพที่ได้มาตรฐานและทั่วถึง ยุทธศาสตร์ที่ 3 การส่งเสริมและพัฒนาการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย ยุทธศาสตร์ที่ 4 การพัฒนาเทคโนโลยีการบริการทันตสุขภาพ ยุทธศาสตร์ที่ 5 การพัฒนาสร้างสรรค์กลุ่มงานทันตกรรมสู่ความเป็นเลิศth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectบริการทางทันตกรรมของโรงพยาบาลth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจth_TH
dc.subjectทันตกรรมth_TH
dc.titleยุทธศาสตร์กลุ่มงานทันตกรรมโรงพยาบาลลำปางth_TH
dc.title.alternativeStrategies for Dental Department of Lampang Hospitalen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis study aiomed to (1) study and analyze the environment of dental department, Lampang hospital , Lampang province (2) propose strategies for the dental department of Lampang hospital , Lampang province. The study was a qualitative research. Instrument used was structured interview form. Population comprised all 43 operating staff of dental department inluding both officials and employees. Focus group technique was applied to 17 dentists involved with general policy making of the department. Data was analyzed using content analysis. The result showed that: (1) the strength of the dental department in Lampang hospital was a systemic structural work process, the weakness was insufficient dental services to respond to patients’needs, the opportunities were the government policy agreed to support the integration of organization annual budget, dental services, network services and human resource development, the threat was the various political policy changed which often affected daily routine plans of the organization and caused urgent need to change and adjust the organization strategies accordingly (2) five recommended strategies were: first strategy: integrated administrative development of the dental department, second strategy : the development of dental service standardized and comprehensive to overall oral health, third strategy: promote and develop the basic network intregration, forth strategy: technological development of the overall oral health services, and fifth strategy: the development creation of the dental department to increase excellent services.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_128382.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.85 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons