Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8297
Title: การแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ในประเทศไทย
Other Titles: Securitization in Thailand
Authors: ฐาปนา ฉิ่นไพศาล, อาจารย์ที่ปรึกษา
มัชฌพร ศิริทรัพย์, 2514-
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ
Keywords: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณี
การแปลงสินทรัพย์ให้เป็นทุน--ไทย
หลักทรัพย์
การศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจ
Issue Date: 2550
Publisher: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
Abstract: การศึกษาค้นคว้าอิสระเรื่องการแปลงสินทรัพเป็นหลักทรัพย์ในประเทศไทย มีวัถุประสงค์เพื่อ )) ศึกษาถึงลักษณะของการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ในประเทศไทย 2) ศึกษาถึงกระบวนการในการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ และ 3) เพื่อศึกษาถึงปัจจัยที่ผู้ลงทุนควรพิจารณาในการลงทุนในหุ้นกายใต้การแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์วิธีการศึกษาที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้าอิสระ ครั้งนี้ เป็นการศึกษาในเชิงพรรณนา โตยการรวบรวมข้อมูลจากแหล่งทุติยภูมิต่าง ๆ ได้แก่ สมาคมตลาดตราสารหนี้ไทย บทความทางวิชาการ เอกสารประกอบการสัมมนา ตำราวิชาการ ข้อมูลจากระบบอิเลดทรอนิคสั ในส่วนของขอบเขตค้นระยะเวลาของข้อมูลที่เกี่ยวกับการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ เป็นการรวบรวมข้อมูลหันรู้ที่ออกในระหว่างปี 2547 ถึง เดือนกันยายน 2550 มาเป็นแนวทางประกอบการศึกษา กาวเปรียบเทียบและวิเคราะห์ข้อมูลผลการศึกษพบว่า 1) การแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ในประเทศไทย ส่วนใหญ่เป็นการออกภายใต้พระราชกำหนดนิติบุคคลเฉพาะกิจเพื่อการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ พ.ศ. 2540 โดยสินทรัพย์ที่นำมาแปลงเป็นสินทรัพย์ที่มีสภาพคล่องต่ำ เช่น ถูกหนี้เช่าซื้อรถยนต์เป็นต้น ซึ่งสินทรัพย์ที่นำมาแปลงต้องมีกระแสเงินสดรายรับในอนาคตที่แน่นอน จากการรวบรวมข้อมูลของตราสารประเภทนี้ ตั้งแต่ปี 2347 ถึง เดือนกันยายน 2550 มูลคำคงค้งมีอัตราการเติบโตอย่างต่อเนื่อง แต่ยังเป็นสัดส่วนที่น้อยเมื่อเปรียบเทียบกับมูลต่าคงค้างของตราสารหนี้ภาค เอกขน โดยคิดเป็นร้อยละ 5.96 โดยได้รับการจัดอันดับความน่าเชื่อถืงที่ระดับสูงสุดหรือ "AAA" คิดเป็น 97.62% 2) กระบวนการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์ ผู้จำหน่ายสิน ทรัพย์จะรวบรวมกลุ่มลูกห หนี้ของตน แล้วจำหน่ายกลุ่มลูกหนี้เหล่านี้ให้แก่นิติบุคคลเฉพาะกิจ เพื่อที่มิติบุคคลเฉพาะกิงจะนำไปแปลงเป็นหลักทรัพย์เพื่อเสนอ โดยก่อนการเสนอขายคืองให้สถาบันชัดฮันตับความนำเชื่อถือประเมินความเสี่ยงและคุณภาพความนำเชื่อถือของกลุ่มถูกหนี้ที่นำมาแปลงเปืนหลักทรัพย์ก่อน 3) ปัจจัยที่ผู้ลงทุนควรพิจารณาในการลงทุน ได้แก่ ความเสี่ยงจาก การลงทุนใน Sccuritization " ซึ่งผู้ลงทุนต้องพิจารณาถึงความเพียงพอของการเพิ่มคุณภาพความน่าเชื่อถือของตราสาร ความเสี่ยงจากการไม่ใด้รับชำระเงินต้น ความเสี่ยงจากการที่รายรับจากสิทธิเรียกร้องที่ผู้จำหนำายสินทรัพย์ทำหน้ำที่เป็นตัวแทนเรียกเก็บหนี้ อาจปะปนอยู่กับรายรับของผู้จำหน่ายสินทรัพย์เอง ความเสี่ยงจากการบริหารกระแสรายให้จากสิทธิเรียกร้องให้เพียงพอต่อการชำระหนี้ เพราะผู้ถือตราสาร Sccuritizaion จะไม่มีสิทธิเรียกร้องให้ผู้ออกตราสารหนี้ชำระห หนี้ที่เหลือได้อีก นอกจากนี้คุณภาพของสินทรัพย์ที่นำมาแปลง รวมทั้งการจัดสรรกระแสเงินคืนให้แก่ผู้ถือตราสารหนี้ก็เป็นสิ่งที่ผู้ลง นควรพิจารณา ในส่วนของผลิต ผลตอบแทนจากการลงทุนนั้น มีองค์ประคอบที่สำคัญที่มีผลต่ออัตราผลตอบแท ทนของตราสารหนี้ ประกอบคำวย ฮัตราเงินเพีอ ดวามเสี่ยงที่อาจจะไม่ได้รับชำระตืน อายุของตราสาร อันดับความนำเชื่อถือ สภาพคล่องในการซื้อขาย ซึ่งอัตราผลตอบแทนของ Sccuritizati ion ก็เช่นกัน ถูกกำหนดจากอัตราผลตอบแทนของพันธบัตร
URI: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8297
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_112705.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.57 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons