Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8304
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิเชียร เลิศโภคานนท์th_TH
dc.contributor.authorมณีรัตน์ แสงบุญไทย, 2512-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-07-27T08:31:56Z-
dc.date.available2023-07-27T08:31:56Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8304en_US
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ในการศึกษา ดังนี้ ) เพื่อศึกษาเปรียบเทียบกลยุทธ์ทางการตลาดของผลิตถภัณฑ์กุนเชียงสินค้าหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ในจังหวัดนครราชสีมา 2) เพื่อศึกนาแนวโน้มกลยุทธ์การตลาดของผลิตภัณฑ์กุนเชียงสินค้าหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ในจังหวัดนครราชสีมา 3) เพื่อวิเคราะห์ปัญหาทางการตลาดของผลิตภัณฑ์กุนเชียงสินค้าหนึ่งตำบลหนึ่งหนึ่งผลิตภัณฑ์ในจังหวัดนกรราชสีมา การศึกษาครั้งนี้เป็นการเปรียบเทียบกลยุทธ์การตลาดเริงพรรณนาโดยใช้ข้อมูลทุติยภูมิทำการศึกษาจากบทความ หน่วยงานพัฒนาชุมชนของจังหวัดนครราชสีมา อินเตอร์เน็ต การสอมถามผู้ประกอบการในกลุ่มผู้ผลิตผลิตภัณฑ์กุนเชียงทั้ง 11 กลุ่มแล้วนำมาวิเคราะห์และสรุปผล ผลการศึกษาพบว่ากลยุทธ์การตลาดของผู้ผลิตกุนเชียงสินค้าหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ให้จังหวัดนครราชสีมา 1) กลุ่มลูกค้าเป้าหมายเน้นกลุ่มนักท่องเที่ยวมากที่สุด รองลงมาคือกลุ่มลูกค้าในชุมชน 2) กลยุทธ์ด้านผลิตภัณฑ์พบว่าผู้ผลิตกลุ่มชุมชนให้ความสำคัญกับคุณภาพการคัดสรรวัตถุดิบและรสชาติมากที่สุด ส่วนผู้ผลิตอุตสาหกรรมให้ความสำคัญกับความหลากหลายของสินค้า ตราสินค้าและภาพลักษณ์มากที่สุด 3) กลยุทธ์ดัานราคามีการกำหนดราคาขายอยู่ในช่วงกิโลกรัมละ 90-160บาท กลุ่มชุมชนตั้งราคาตามต้นทุนการผลิตและราคาของคู่แข่งกลุ่มอุตสาหกรรมตั้งราคาตามลักษณะของบรรจุภัณฑ์ 4) กลยุทธ์ด้านการจัดจำหน่ายในส่วนของช่องทางจัดจำหน่าย พบว่าขายผ่านช่องทางร้านขายของฝากนักท่องเที่ยวมากที่สุด 5)กลยุทธ์ด้านการส่งเสริมการตลาลผู้ผลิตให้ความสำคัญกับกลยุทธ์ปากต่อปากมากที่สุดรองลงมาคือใช้การโฆษณาและจัดหน้าร้านค้าให้โดดเด่นสะดุดตาสำหรับแนวโน้มกลยุทธ์การตลาดพบว่ากลุ่มผู้ผลิตอุตสาหกรรมในด้านผลิตภัณฑ์มีแนวโน้มให้ความสำคัญกับตราสินค้าและความหลากหลาขขถงผลิตภัณฑ์ส่วนผู้ผลิตกลุ่มชุมชนให้ความสำคัญกับรสชาติความสะอาด ด้านราคากลุ่มผู้ผลิตชุมชนมีแนวไนัมกำหนดราคาตาคู่แข่ง ส่วนกลุ่มผู้ผลิตอุตสาหกรรมมีแนวโน้มกำหนดราคาตามคุณค่าของผลิตภัณฑ์โดยกำหนราคาตามลักษณะบรรจุภัณฑ์ ด้านการจัดจำหน่ายทั้งสองกลุ่มมีแนวโน้มใช้การจัดจำหน่ายแบบหลากหลายช่องทาง ด้านการส่งเสริมการตลาดมีแนวโน้มใช้วิธีปากต่อปากและตกแต่งจุดขาย ปัญหาและอุปสรรคที่พบคือความไม่แน่นอนของตลาด การตัดราคา และเศรษฐกิจชะลอตัวth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceReformatted digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectกุนเชียง--การตลาด--ไทย--นครราชสีมาth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.subjectผลิตภัณฑ์อาหาร--การตลาด--ไทย--นครราชสีมาth_TH
dc.subjectการจัดการตลาดth_TH
dc.titleกลยุทธ์การตลาดผลิตภัณฑ์กุนเชียง (ผลิตภัณฑ์ OTOP) ในจังหวัดนครราชสีมาth_TH
dc.title.alternativeMarketing strategies of Kunchiang sausage products (OTOP products) in Nakornrajsima Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_112568.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.13 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons