กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8304
ชื่อเรื่อง: กลยุทธ์การตลาดผลิตภัณฑ์กุนเชียง (ผลิตภัณฑ์ OTOP) ในจังหวัดนครราชสีมา
ชื่อเรื่องอื่นๆ: Marketing strategies of Kunchiang sausage products (OTOP products) in Nakornrajsima Province
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: วิเชียร เลิศโภคานนท์, อาจารย์ที่ปรึกษา
มณีรัตน์ แสงบุญไทย, 2512-
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ
คำสำคัญ: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณี
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณี
กุนเชียง--การตลาด--ไทย--นครราชสีมา
การศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจ
ผลิตภัณฑ์อาหาร--การตลาด--ไทย--นครราชสีมา
การจัดการตลาด
วันที่เผยแพร่: 2550
สำนักพิมพ์: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
บทคัดย่อ: วัตถุประสงค์ในการศึกษาดังนี้ ) เพื่อศึกษาเปรียบเทียบกลยุทธ์ทางการตลาดของผลิตถภัณฑ์กุนเชียงสินค้าหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ในจังหวัดนครราชสีมา 2) เพื่อศึกนาแนวโน้มกลยุทธ์การตลาดของผลิตภัณฑ์กุนเชียงสินค้าหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ในจังหวัดนครราชสีมา 3) เพื่อวิเคราะห์มีปัญหาทางการตลาดของผลิตภัณฑ์กุนเชียงสินค้าหนึ่งตำบลหนึ่งหนึ่งผถิตภัณฑ์จำในจังหวัดนกรราชสีมา การศึกมาครั้งนี้เป็นการเปรียบเทียบกลยุทธ์การตลาดเริงพรรณนาโดยใช้ข้อมูลทุติยภูมิทำการศึกษาจากบทความ หน่วยงานพัฒนาชุมชนของจังหวัดนกรราชสีมา อินเตอร์เน็ต การสอมถามผู้ประกอบการในกลุ่มผู้ผลิตผลิตภัณฑ์กุนเชียงทั้ง 11 กลุ่มแล้วนำมาวิเคราะห์และสรุปผล ผลการศึกษาพบว่ากลยุทธ์การตลาดของผู้ผลิตกุนเชียงสินค้าหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ให้จังหวัดนครราชสีมา 1) กลุ่มลูกค้าเป้าหมายเน้นกลุ่มนักท่องเที่ยวมากที่สุด รองลงมาคือกลุ่มลูกค้าในชุมชน 2) กลยุทธ์ด้านผลิตภัณฑ์พบว่าผู้ผลิตกลุ่มชุมชนให้ความสำคัญกับคุณภาพการกัดสรรวัตถุดิบและรสชาติมากที่สุด ส่วนผู้ผลิตอุตสาหกรรมให้ความสำกัญกับความหลากหลายของสินค้า ตราสินก้และภาพลักษณ์มากที่สุด 3) กลยุทธ์ดัานราคามีการกำหนดราคาขายอยู่ในช่วงกิโลกรัมละ90-160บาทกลุ่มชุมชนตั้งราคาตามต้นทุนการผลิตและราคาของคู่แข่งกลุ่มอุตสาหกรรมตั้งราคาตามลักษณะของบรรจุภัณฑ์ 4) กลยุทธ์ด้านการจัดจำหน่ายในส่วนของช่องทางจัดจำหน่าย พบว่าขายผ่านช่องทางร้านขายของฝากนักท่องเที่ยวมากที่สุด 5)กลยุทธ์ด้านการส่งเสริมการตลาลผู้ผลิตให้ความสำคัญกับกลยุทธ์ปากต่อปากมากที่สุดรองลงมาคือใช้การโฆษณาและจัดหน้าร้านค้าให้โดดเด่นสะดุดตาสำหรับแนวโน้มกลยุทธ์การตลาดพบว่ากลุ่มผู้ผลิตอุตสาหกรรมในด้านผลิตภัณฑ์มีแนวโน้มให้ความสำคัญกับตราสินค้าและความหลากหลาขขถงผลิตภัณฑ์ส่วนผู้ผลิตกลุ่มชุมชนให้ความสำคัญกับรสชาติความสะอาด ด้านราคากลุ่มผู้ผลิตชุมชนมีแนวไนัมกำหนดราคาตาคู่แข่ง ส่วนกลุ่มผู้ผลิตอุตสาหกรรมมีแนวโน้มกำหนดราคาตามคุณค่าของผลิตภัณฑ์โดยกำหนราคาตามลักษณะบรรจุภัณฑ์ ด้านการจัดจำหน่ายทั้งสองกลุ่มมีแนวโน้มใช้การจัดจำหน่าย แบบหลากหลายช่องทาง ด้านการส่งเสริมการตลาดมีแนวโน้มใช้วิธีปากต่อปากและตกแต่งจุดขาย ปัญหาและอุปสรรคที่พบคือความไม่แน่นอนของตลาด การตัตราคา และเศรษฐกิจชะลอตัว
URI: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8304
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Manage-Independent study

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext_112568.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.13 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License Creative Commons