Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8313
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปภาวดี มนตรีวัต, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorประเสริฐ อยู่ยอด, 2504-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-07-29T07:43:38Z-
dc.date.available2023-07-29T07:43:38Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8313-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับความผูกพันต่อองค์การของข้าราชการตำรวจกองกำกับการตำรวจตระเวนชายแดนที่ 13 (2) เปรียบเทียบความผูกพันต่อองค์การของข้าราชการตํารวจกองกำกับการตำารวจตระเวนชายแดนที่ 13 จําแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล (3) เสนอแนะแนวทางเสริมสร้างความผูกพันของข้าราชการตำรวจกองกำกับการตำรวจตระเวนชายแดนที่ 13 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ข้าราชการตำรวจกองกำกับการตำรวจตระเวนชายแดนที่ 13 จํานวน 267 คน จากประชากร 800 คน ถามกลุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ เครื่องมือที่ใช้ได้แก่แบบสอบ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก ่ความถี่ ค่าร้อยละและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าทีและการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ผลการวิจัยพบว่า (1) ระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับความผูกพันต่อองค์การของข้าราชการตํารวจกองกำกับการตำรวจตระเวนชายแดนที่ 13 อยู่ในระดับมากที่สุด โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ได้แก่ ความเชื่อมั่นและยอมรับเป้าหมายและค่านิยมขององค์การ ด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด ได้แก่่ความปรารถนาที่จะเป็นสมาชิกขององค์การตลอดไป (2) เมื่อเปรียบเทียบความผูกพันต่อองค์การจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล พบว่าข้าราชการตำรวจที่มีอายุระดับชั้นยศ/ตําแหน่งต่างกันมีระดับความผูกพันต่อองค์การในภาพรวมไม่แตกต่างกันขณะที่ผู้ที่มีเพศแตกต่างกันมีระดับความผูกพันแตกต่างกันในด้านความปรารถนาที่จะเป็นสมาชิกขององค์การตลอดไป และผู้ที่มีระดับการศึกษาแตกต่างกันมีระดับความผูกพันแตกต่างกันทั้ง 3 ด้านของความผูกพันต่อองค์การ (3) ข้อเสนอแนะได้แก่ หน่วยงานควรจัดระบบรางวัลแก่ผู้ที่รักษาระเบียบวินัยและมีผลงานดีเด่นเพื่อส่งเสริมความเชื่อมั่นในเป้าหมายและค่านิยมองค์การ ควรมุ่งเน้นการพัฒนาพื้นที่ห่างไกลเพื่อเสริมสร้างความภูมิใจและความทุ่มเทในการทำงาน ยิ่งไปกว่านั้น ควรพิจารณาเพิ่มสวัสดิการรวมถึงเงินช่วยเหลือต่างๆ และการโยกย้ายไปยังภูมิลําเนาของข้าราชการตำรวจเพื่อเสริมสร้างความปรารถนาที่จะเป็นสมาชิกองค์การตลอดไปth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectข้าราชการตำรวจth_TH
dc.subjectความผูกพันต่อองค์การth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจth_TH
dc.titleความผูกพันต่อองค์การของข้าราชการตำรวจกองกำกับการตำรวจตระเวนชายแดนที่ 13th_TH
dc.title.alternativeOrganizational commitment of police officials, border patrol police subdivision 13en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research aimed to (1) study the level of organizational commitment of Border Patrol Police Subdivision 13 (2) compare organizational commitment of Border Patrol Police Subdivision 13 according to personal factors (3) recommend guidelines to enhance organizational commitment of Border Patrol Police Subdivision 13 Samples comprised 267 policemen from Border Patrol Police Subdivision 13 unit drawn from population of 800 via Taro Yamane calculation. Accidental sampling method was applied. Instrument used was questionnaire. Statistical tools employed were frequency, percentage, standard deviation, t-test, and One – way ANOVA. Research result revealed that (1) organizational commitment of Border Patrol Police Subdivision 13 was at highest level with the highest mean on confidence and acceptance of organization goal and value, and the lowest mean on desire to maintain organization membership (2) when compare the organizational commitment according to personal factors, no differences were found among those with different age, and ranking level, while those with difference on gender had different level of commitment on desire to maintain organization membership and those with difference on education level had different level on all 3 dimensions of organizational commitment (3) recommendations were the organization should set up reward system for those who were most conformed and had best performance to enhance confidence and acceptance of organization goal and value, also, should put the emphasis on job in remote area development so to enhance pride and dedication, moreover, the organization should take into consideration the increase of welfare and allowance, and the possibility to transfer to one’s homeland so to enhance the willingness to maintain organization membershipen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_128335.pdfเอกสารฉบับเต็ม8.31 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons