Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/831
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorภาณุมาศ ขัดเงางาม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorวรรณวิภา เมืองถ้ำ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorรุ้งทิพย์ แซ่แง่, 2530--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-20T06:50:18Z-
dc.date.available2022-08-20T06:50:18Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/831-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม. (กฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2559th_TH
dc.description.abstractการวิจัยเรื่องการใช้สถานที่ขังแทนการขังหรือจําคุกในเรือนจํานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา แนวคิดและทฤษฎีและหลักกฎหมายที่เกี่ยวกับการใช้สถานที่ขังแทนการขังหรือจําคุกในเรือนจํา ที่เกี่ยวข้องกับคุณสมบัติของผู้ที่จะมีสิทธิใช้มาตรการสถานที่ขังแทนเรือนจํา การลงโทษจําคุก ในสถานที่ขังแทนเรือนจํา รูปแบบการควบคุมตัวในสถานที่ขัง สถานที่ขังของเอกชนและเสนอแนะ แนวทางการแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับการใช้สถานที่ขังแทนการขังหรือจําคุกในเรือนจําได้อย่างเหมาะสม การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยวิจัยเอกสารจากการค้นคว้าและรวบรวมจาก ตัวบทกฎหมาย หนังสือ วิทยานิพนธ์ บทความ คําสั่งหรือคําพิพากษาของศาล สื่ออิเล็กทรอนิกส์ และเอกสารอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยจะแบ่งเป็นตามขั้นตอนตั้งแต่การใช้สถานที่ขังกับผู้ต้องหาที่อยูในระหว่างสอบสวน จําเลยที่อยูในระหว่างการพิจารณาคดีของศาล และนักโทษที่จําคุกตามคําพิพากษา ของศาลมาแล้วระยะเวลาหนึ่ง ผลการวิจัยพบว่าเหตุที่ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 89/1และมาตรา 89/2 ไม่เคยถูกนํามาบังคับใช้เลย เนื่องจากมีความไม่ชัดเจนในเรื่องคุณสมบัติของผู้ที่จะมีสิทธิใช้มาตรการ สถานที่ขังแทนเรือนจํา ในต่างประเทศนั้นมีการกำหนดเงื่อนไขต้องห้ามใช้สถานที่ขังกับผู้กระทําความผิดบางกลุ่ม ไว้อย่างชัดเจน คือ ความผิดร้ายแรงบางฐานและมีลักษณะการกระทําความผิด ตามที่กำหนดไว้ หรือเป็นการกระทําความผิดซ้ำ จําเลยหรือผู้ต้องหาที่คดีอยู่ระหว่างการพิจารณา ก็จะสามารถอยู่ในสถานที่ขังและไปทํางานหรือไปเรียนได้ตามปกติโดยติดตั้งอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เพื่อติดตามตัว และยังสามารถที่จะควบคุมตัวไว้ในสถานที่ขังบางช่วงเวลาได้สําหรับในความผิด ที่ไม่ร้ายแรง ศาลสามารถที่ลงโทษจําคุกผู้กระทําความผิดโดยจําคุกในสถานที่ขังแทนการส่งตัว ไปเรือนจําได้เลย และยังมีการจัดตั้งสถานที่ขังและเรือนจําเอกชนในลักษณะที่รัฐให้เอกชนก่อสร้าง หรือให้สัมปทานในการดูแลโดยที่รัฐยังเป็นผู้ควบคุมอย่างใกล้ชิด โดยแบ่งแยกนักโทษตามวัย เพศ ลักษณะการกระทําความผิด เพื่อมุ่งเน้นในการแก้ไขปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และยังเปิดโอกาสได้ทํางาน และนําเงินมาจ่ายค่าเช่าสถานที่ขัง ทําให้ผู้ต้องขังมีชีวิตความเป็นอยูที่ดีขึ้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2016.35en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช-
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการกักขังผู้กระทำผิดth_TH
dc.titleการใช้สถานที่ขังแทนการขังหรือจำคุกในเรือนจำth_TH
dc.title.alternativeAn approach to alternative imprisonmentth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.identifier.DOI10.14457/STOU.the.2016.35en_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis thesis aimed to study the concept and theory of an approach to detain the alleged offender or defendant in the other place, besides the penitentiary related qualify of claimant who request by the said person, an approach to detain the alleged offender or defendant in the other place, besides the penitentiary or private place and propose properly solutions about detain the alleged offender or defendant in the other place, besides the penitentiary. This research is qualitative legal research by documentary research, text book, thesis, journal, order or court judgment, media and other documents. This research studied in the alleged offender keep in custody, the accused in trial and the convict in the other place, besides the penitentiary. The result showed that Thailand never enforced in Article 89/1 and Article 89/2 to the Criminal Procedure Code of Thailand because the ambiguity in qualification of person who entitles to detain in the other place. In other countries, they have prohibited conditions with some serious crimes and criminal offense or recidivism offend. The alleged offender or the accused who wasn’t found guilty of crime can stay at his/her place with the Electronic Monitoring. The court may give the order to detain the alleged offender in the other place, besides the penitentiary. Furthermore, the private sector can establish and manage private penitentiary by making concessions with the government. It separates the prisoners by age, gender, criminal offense for behavior modification and the provide job for pay a rent. This resulted in the prisoners got better life. In summary, Thailand shall establish the private place to detain alleged offender or defendanten_US
Appears in Collections:Law-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thesbib155191.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.34 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons