Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8323
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorฉัตรชัย ลอยฤทธิวุฒิไกร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorจิรภา หนูชู, 2527-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-07-29T14:14:05Z-
dc.date.available2023-07-29T14:14:05Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8323-
dc.description.abstractการศึกษาภาพลักษณ์ของสายการบินต้นทุนต่ำ ไทยแอร์แอเชียในสายตาผู้โดยสาร ครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาลักษณะส่วนบุคคลของผู้โดยสารไทยแอร์เอเชีย (2) ศึกษาระดับความคิดเห็นของผู้โดยสารคนไทยที่มีต่อภาพลักษณ์ของสายการบินต้นทุนต่ำไทยแอร์เอเชีย (3) เปรียบเทียบลักษณะส่วนบุคลกับระดับความคิดเห็นของภาพลักษณ์ บริษัทไทยแอร์เอเชีย ทางด้านภาพลักษณ์ของบริษัท ภาพลักษณ์ของตราสินค้า ภาพลักษณ์ของการบริการ การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากร คือ ผู้โดยสารที่ใช้บริการขาออกภายในประเทศและผู้โดยสารที่ใช้บริการขาเข้าภายในประเทศ ณ ท่าอากาศยานนานาชาติภูเก็ต จำนวน 400 คน กำหนดขนาด ตัวอย่างโดยใช้ความคลาดเคลื่อน 0.05 จำนวน 400 คน สุ่มตัวอย่างตามสะดวก ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณา ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยเรขาคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาณ ได้แก่ การทดสอบค่าที และค่าเอฟ ผลการวิจัยพบว่า (1) กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุ 35 – 44 ปี ส่วนใหญ่มีสถานภาพโสด ระดับการศึกษาสูงสุดระดับปริญญาตรีมีอาชีพเป็นข้าราชการ/พนักงานรัฐวิสาหกิจและส่วนใหญ่มีรายได้ต่อเดือน 15,000 – 20,999 บาท (2) ภาพลักษณ์บริษัท ตราสินค้า และบริการ แต่ละด้าน ดังนี้ คือด้านระดับความคิดเห็นภาพลักษณ์ของบริษัท โดยภาพรวมอยู่ในระดับดี และเมื่อพิจารณารายข้อ พบว่า เป็นองค์กรที่มีความก้าวหน้าทันเทคโนโลยี ระบบบริหารและฝ่ายจัดการที่สูงด้วยประสิทธิภาพและเป็นองค์กรที่มีความมั่นคง ด้านระดับความคิดเห็นต่อภาพลักษณ์ของตราสินค้า โดยภาพรวมอยู่ใน ระดับดี และเมื่อพิจารณารายข้อ พบว่า การส่งเสริมการขาย และเห็นโลโก้แอร์เอเชีย ก็นึกถึงสายการบินต้นทุนต่ำ ด้านระดับความคิดเห็นต่อภาพลักษณ์ของการบริการ โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง และ เมื่อพิจารณารายข้อ พบว่า การแจ้งข่าวสารผ่านอีเมล ผ่านเวปไซต์ และ การแต่งกายโดยใช้สีแดงเป็นเอกลักษณ์ เป็นแบบฟอร์มทั้งพนักงานภาคพื้นและพนักงานต้อนรับบนเครื่องบิน (3) การเปรียบเทียบความแตกต่างลักษณะส่วนบุคลกบระดับความคิดเห็นต่อภาพลักษณ์ของสายการบินต้นทุนต่ำ ไทยแอร์เอเชีย ใน สายตาผู้โดยสาร ณ ท่าอากาศยานนานาชาติภูเก็ต ได้แก่ เพศ อายุ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้ต่อเดือน โดยภาพรวมและรายด้านไม่แตกต่างth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการตลาด --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสายการบินไทยแอร์เอเชียth_TH
dc.subjectภาพลักษณ์บริษัทth_TH
dc.subjectการขนส่งทางอากาศ--ไทยth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การตลาดth_TH
dc.titleภาพลักษณ์ของสายการบินต้นทุนต่ำ ไทยแอร์แอเชีย ในสายตาผู้โดยสาร ณ ท่าอากาศยานนานาชาติภูเก็ตth_TH
dc.title.alternativeThe brand image of low-cost Air Asia in the prospective of the user at Phuket International Airporten_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were (1) to study personal characteristics of Thai Air Asia passengers; (2) to study the levels of Thai passengers’ opinions of the image of Thai Air Asia ; and (3) to compare between personal characteristics and the levels of passengers’ opinions of Thai Air Asia in terms of the image of company, the image of product brand, and the image of service. The study was a survey research. Population was Thai Air Asia passengers at the departures and the arrivals of domestic flights at Phuket International Airport. The sample consisted of 400 passengers selected by using a convenience sampling method. Questionnaires were used for data collection. Data was analyzed by using both descriptive statistic methods: frequency, percentage, arithmetic mean, standard deviation; and inferential statistics: t-Test and F-test. The results showed that (1) the majority of respondents were single male, aged between 35 and 44, with bachelor’s degrees for their highest educational background. They were government officials and state enterprises employees with monthly incomes between 15,001 - 20,999 baht. (2) The overall company’s image was at a high level in terms of an advanced technology, efficiency management system and the secure company. The passengers’ overall opinions of the image of product brand were at a high level in terms of promotion and Air Asia’s logo represented low-cost airline. The passengers’ overall opinions of the service was at a medium level in terms of providing information through emails and websites and the unique of the red uniform of ground staff and the flight attendants. (3) The comparison of the differences between personal characteristics and the levels of passengers’ opinions at Phuket International Airport of Thai Air Asia showed that gender, age, marital status, educational level, occupation, and income had no differences in overall and each aspecten_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_135416.pdfเอกสารฉบับเต็ม9.41 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons