Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8332
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุจินตนา ชุมวิสูตร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorกรพิสิษฐ ชูศรี, 2523--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-07-31T06:59:39Z-
dc.date.available2023-07-31T06:59:39Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8332-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระเรื่องอำนาจหน้าที่ของพนักงานอัยการ มีวัตถุประสงค์ เนื่องจากปัจจุบันประเทศไทยประสบปัญหาด้านการดำเนินกระบวนยุติธรรมทางอาญาที่ล่าช้า โดยสาเหตุส่วนหนึ่งของปัญหาเกิดขึ้นจากการกำหนดอำนาจหน้าที่ของบุคลากรในกระบวนการยุติธรรมที่ขาดความเหมาะสม โดยเฉพาะอย่างยิ่งการกำหนดอำนาจหน้าที่ของพนักงานอัยการ ผู้จัดทำจึงได้ ต่อไป ศึกษาวิจัยเกี่ยวกับอำนาจของพนักงานอัยการ โดยได้ศึกษาเปรียบเทียบอำนาจหน้าที่ของพนักงานอัยการไทยกับพนักงานอัยการสากล ในด้านต่าง ๆ โดยนําผลการศึกษามาวิเคราะห์ถึงอุปสรรค และปัญหาที่เกิดขึ้น เพื่อนำมาเป็นแนวทางในการแก้ไขปรับปรุงกฎหมายที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะอย่างยิ่งประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา และพ.ร.บ. องค์กรอัยการและพนักงานอัยการของประเทศไทย การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยวิธีการวิจัยทางเอกสารวิชาการต่าง ๆ บทความ ตำราเรียน งานวิจัย รวมทั้งการศึกษาถึงแนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับเรื่องอำนาจหน้าที่ของพนักงานอัยการไทยกับพนักงานอัยการสากล ซึ่งจะนำมาสู่การแก้ไขปรับปรุง เกี่ยวกับเรื่องอำนาจหน้าที่ของพนักงานอัยการไทย ผลการศึกษาพบว่า พนักงานอัยการในต่างประเทศสามารถปฏิบัติหน้าที่ของตนได้อย่างอิสระไม่ตกอยู่ภายใต้อิทธิพลใด ๆ ทำให้สามารถปฏิบัติหน้าที่ที่มีประสิทธิภาพ แต่พนักงานอัยการไทยแม้จะวางหลักการให้มีความเป็นอิสระในทางทฤษฎี แต่ในทางปฏิบัติแล้วยังคงถูกแทรกแซงจากภายนอก ซึ่งก่อให้เกิดผลเสียกับกระบวนการยุติธรรมของไทย จึงเห็นควรแก้ไขกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาและพระราชบัญญัติอัยการของไทยในส่วนที่ยังมีข้อบกพร่องอยู่ เช่น เรืองอำนาจสอบสวนของพนักงานอัยการ ซึ่งถูกจํากัดให้เป็นเพียงอำนาจของพนักงานฝ่ายปกครองและพนักงานสอบสวนเท่านั้น รวมทั้งบทกฎหมายที่เกี่ยวกับการใช้ดุลพินิจในการสั่งฟ้องหรือไม่ฟ้องคดีของพนักงานอัยการควรต้องมีบทกฎหมายที่บัญญัติหรือรองรับการใช้ดุลพินิจดังกล่าวของพนักงานอัยการไว้อย่างชัดแจ้งเพื่อเป็นหลักประกันความยุติธรรมแก่ประชาชนด้วยth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectอัยการth_TH
dc.subjectการทำงานth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรมth_TH
dc.titleอำนาจหน้าที่ของพนักงานอัยการth_TH
dc.title.alternativeThe power and function prosecuteren_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeObjectives of Study: Thailand nowadays is confronted with many difficulties from the belated criminal procedure and the lack of efficiency in taking evidences in order to bring the wrongdoer to justice. One of many reasons might be caused by the unsuitable duties and rolesgiven to all personnel in judicial administration, especially those in the Public Prosecution Organization which have extremely significant role in the criminal procedure. Consequently, this Independent Study shall be the comparative study of the Public Prosecution Organization’s structure in Thailand and in international states in the matter of duty and role in the criminal procedure and others. Methodology of Study: This Independent Study was carried under the scope of the duty and role of Thai Public Prosecution Organization which is necessarily studied by comparing to other states’ public prosecution systemand United Nation guidelines on the role of prosecutors in order to illustrate the differences, advantages and disadvantages, including the reasons of using the system. For that matter, France and Germany, whereas England and the United States of America were chosen among other Civil Law and Common Law system states to be the subjects of this study. From the results of the study, the writer found that the public prosecutor in the foreign countries is capable of performing his duty independently and is not under any influences which rendered him the effective discharge. Thai public prosecutor although designated to be freely by the theory, in practice he still is intervened by the external factor which resulted in bad effects to the process of judgment. The Criminal Procedure Code and the Public Prosecution Organization and Public Prosecutors Act in the imperfect parts shall be revised, such as the public prosecutor’s authority to investigate which is limited only to the administrative officials and the inquiry officials. Moreover, there shall be the provisions clearly legislated or supported to exercise the discretionary power of the public prosecutor to issue a prosecution order or a non-prosecution order in order to assure the justice to the peopleen_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.27 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons