Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8333
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมาลี สุรเชษฐ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorกฤษดากร กึกก้อง, 2513--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-07-31T07:15:57Z-
dc.date.available2023-07-31T07:15:57Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8333-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์การรับฟังพยานหลักฐานในคดีอาญาที่ได้มาโดยมิชอบเพื่อ (1) ศึกษาแนวคิดทฤษฎี เกี่ยวกับการรับฟังพยานหลักฐานในคดีอาญาที่ได้มาโดยมิชอบ (2) ศึกษาปัญหาการรับฟังพยานหลักฐานในคดีอาญาที่ได้มาโดยมิชอบ (3) ทราบแนวทางการแก้ไขปัญหาของการนําพยานหลักฐานในคดีอาญาที่ได้มาโดยมิชอบ และพยานหลักฐานที่ได้มาโดยอาศัยข้อมูลที่เกิดขึ้น 226 และมาตรา 226/1 (4) ทราบแนวทางการใช้ข้อยกเว้นของหลักการรับฟังพยานหลักฐานที่เกิดขึ้นโดยชอบ แต่ได้มาเนื่องจากการกระทำโดยมิชอบ ตามที่กำหนดไว้ในประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 226 และมาตรา 226/1 (5) เปรียบเทียบกฎหมายไทยและกฎหมายต่างประเทศในการรับฟังพยานหลักฐานในคดีอาญาที่ได้มาโดยมิชอบ เอกสาร (Documentary) ในการศึกษาครั้งนี้ เป็นการศึกษาเชิงคุณภาพ (Qualitative research) โดยการวิจัยทาง (research) ซึ่งอาศัยข้อมูลจากเอกสาร หนังสือ บทความในวารสาร คำพิพากษาของศาล ตลอดจนการสืบค้นข้อมูลจากสื่ออิเล็กทรอนิกส์และ ข้อเท็จจริงจากข้อกฎหมายเกี่ยวกับการรับฟังพยานหลักฐานในคดีอาญาที่ได้มาโดยมิชอบ และนำข้อมูลที่ได้มาจากการศึกษา นํามาวิเคราะห์ เสนอในรูปของการศึกษาค้นคว้าอิสระ เพื่อเป็นประโยชน์ในการแก้ไขปัญหาในข้อกฎหมายต่อไป หรือได้มาโดยมิชอบตามที่ทําหนดไว้ในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ผลการศึกษาพบว่า ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 226 นั้น พยานหลักฐานในคดีอาญา ทีได้มาโดยมิชอบมิให้ศาลรับฟังโดยเด็ดขาด จึงมีลักษณะที่เคร่งครัด จนเกินไป ไม่สามารถนํามาใช้ได้กับการพิจารณาทุกคดีจึงได้มีการบัญญัติ ป.วิ.อ.มาตรา 226/1 เพิ่มเติมทั้งนี้เพื่อคลายความตึงเคีรียดและเป็นประโยชน์ต่อการอำนวยความยุติธรรมมากกว่าผลเสียอันเกิดจากผลกระทบต่อมาตรฐานของระบบงานยุติธรรมทางอาญาหรือสิทธิเสรีภาพของประชาชนจึงให้ศาลสามารถใช้ดุลพินิจรับฟังพยานหลักฐานได้ ตาม ป.วิ.อ.มาตรา 226/1 ได้เพื่อดำรงไว้ซึ่งความยุติธรรมของสังคมth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectกระบวนการยุติธรรมทางอาญาth_TH
dc.subjectพยานหลักฐาน (กฎหมาย)--ไทยth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรมth_TH
dc.titleการรับฟังพยานหลักฐานในคดีอาญาที่ได้มาโดยมิชอบth_TH
dc.title.alternativeThe hearing of evidenceacquired [i.e. evidence acquired] wrongfully in criminal casesen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis study aims to (1) examine the theoretical concepts on the hearing of evidence acquired wrongfully in criminal cases (2) study the hearing of evidence acquired wrongfully in criminal cases were wrongful (3) find the solutions of the evidence in criminal cases is derivedwrongfully and evidence-based data acquisition occurs or acquired illegally as defined in the Criminal Procedure Code Article 226 and Article 226/1 (4) find the exceptions of the hearing of evidence occurred legally but acquired illegally according to Penal Code Section 226 and Section 226/1 (5) comparative Thai law and International law in the hearing of the evidence acquired wrongfully in a criminal case. This research is a qualitative research based on study, data compilation and analysis of related Judgment of the Court, research reports, journal articles, various electronic data . Internet network (Internet) and exploration of the law concerning the hearing of evidence acquired wrongfully in criminal cases. And the data obtained from the study were analyzed. Presented in the form of independent study. To be useful in solving problems in the law. The results showed that Under the Criminal Procedure Code Article 226 are strictly prohibited the Court from hearing the evidence acquired wrongfully in criminal cases. This strictly prohibited looks to be too strict and unable to apply to every cases. There have to consider the Criminal Procedure Code Article 226/1. In order to relieve tension, more beneficial to the administration of justice and to maintain social justice the Court of Justice allowed to use its discretion to hear such evidences as the Criminal Procedure Code Article 226/1en_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.18 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons