กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8333
ชื่อเรื่อง: การรับฟังพยานหลักฐานในคดีอาญาที่ได้มาโดยมิชอบ
ชื่อเรื่องอื่นๆ: Hearing of evidenceacquired [i.e. evidence acquired] wrongfully in criminal cases
ผู้แต่ง/ผู้ร่วมงาน: มาลี สุรเชษฐ
กฤษดากร กึกก้อง, 2513-
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์
คำสำคัญ: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณี
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม--การศึกษาเฉพาะกรณี
กระบวนการยุติธรรมทางอาญา
พยานหลักฐาน (กฎหมาย)--ไทย
การศึกษาอิสระ--กฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม
วันที่เผยแพร่: 2556
สำนักพิมพ์: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
บทคัดย่อ: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์การรับฟังพยานหลักฐานในคดีอาญาที่ได้มาโดยมิชอบเพื่อ (1) ศึกษาแนวคิดทฤษฎี เกี่ยวกับการรับฟังพยานหลักฐานในคดีอาญาที่ได้มาโดยมิชอบ (2) ศึกษาปัญหาการรับฟังพยานหลักฐานในคดีอาญาที่ได้มาโดยมิชอบ (3) ทราบแนวทางการแก้ไขปัญหาของการนําพยานหลักฐานในคดีอาญาที่ได้มาโดยมิชอบ และพยานหลักฐานที่ได้มาโดยอาศัยข้อมูลที่เกิดขึ้น 226 และมาตรา 226/1 (4) ทราบแนวทางการใช้ข้อยกเว้นของหลักการรับฟังพยานหลักฐานที่เกิดขึ้นโดยชอบ แต่ได้มาเนื่องจากการกระทำโดยมิชอบ ตามที่กำหนดไว้ในประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 226 และมาตรา 226/1 (5) เปรียบเทียบกฎหมายไทยและกฎหมายต่างประเทศในการรับฟังพยานหลักฐานในคดีอาญาที่ได้มาโดยมิชอบ เอกสาร (Documentary) ในการศึกษาครั้งนี้ เป็นการศึกษาเชิงคุณภาพ (Qualitative research) โดยการวิจัยทาง (research) ซึ่งอาศัยข้อมูลจากเอกสาร หนังสือ บทความในวารสาร คำพิพากษาของศาล ตลอดจนการสืบค้นข้อมูลจากสื่ออิเล็กทรอนิกส์และ ข้อเท็จจริงจากข้อกฎหมายเกี่ยวกับการรับฟังพยานหลักฐานในคดีอาญาที่ได้มาโดยมิชอบ และนำข้อมูลที่ได้มาจากการศึกษา นํามาวิเคราะห์ เสนอในรูปของการศึกษาค้นคว้าอิสระ เพื่อเป็นประโยชน์ในการแก้ไขปัญหาในข้อกฎหมายต่อไป หรือได้มาโดยมิชอบตามที่ทําหนดไว้ในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ผลการศึกษาพบว่า ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 226 นั้น พยานหลักฐานในคดีอาญา ทีได้มาโดยมิชอบมิให้ศาลรับฟังโดยเด็ดขาด จึงมีลักษณะที่เคร่งครัด จนเกินไป ไม่สามารถนํามาใช้ได้กับการพิจารณาทุกคดีจึงได้มีการบัญญัติ ป.วิ.อ.มาตรา 226/1 เพิ่มเติมทั้งนี้เพื่อคลายความตึงเคีรียดและเป็นประโยชน์ต่อการอำนวยความยุติธรรมมากกว่าผลเสียอันเกิดจากผลกระทบต่อมาตรฐานของระบบงานยุติธรรมทางอาญาหรือสิทธิเสรีภาพของประชาชนจึงให้ศาลสามารถใช้ดุลพินิจรับฟังพยานหลักฐานได้ ตาม ป.วิ.อ.มาตรา 226/1 ได้เพื่อดำรงไว้ซึ่งความยุติธรรมของสังคม
URI: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8333
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Law-Independent study

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
fulltext.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.18 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License Creative Commons