Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8337
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปภาวดี มนตรีวัด, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอรกัญญา วิฑูรย์, 2526-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-07-31T08:18:07Z-
dc.date.available2023-07-31T08:18:07Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8337-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาความคิดเห็นของประชาชนต่อการดำเนินงานด้านการส่งเสริมการท่องเที่ยวขององค์กรบริหารส่วนตำบลปางมะผ้า อำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน (2) เปรียบเทียบความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อการดำเนินงานด้านการส่งเสริมการท่องเที่ยวขององค์การบริหารส่วนตำบลปางมะผ้า อำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล และ (3) เสนอแนะแนวทางการดำเนินงานค้นการส่งเสริมการท่องเที่ยวขององค์การบริหารส่วนตำบลปางมะผ้า อำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน ประชากรได้แก่ นักท่องเที่ยวที่มาใช้บริการในสถานที่ท่องเที่ยวขององค์การบริหารส่วนตำบลปางมะผ้า อำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน จำนวน 122,626 คน กลุ่มตัวอย่างคำนวณจากสูตรของทาโร่ ยามาเน่ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% จำนวน 400 คน ซุ่มตัวอย่างอย่างง่าย โดยใช้แบบสอบถามที่ผู้ศึกษาสร้างขึ้นเป็น เครื่องมือในการศึกษา สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ด่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที่ และการทดสอบค่าเอฟ ผลการศึกษาพบว่า (1) ประชาชนมีความคิดเห็นต่อการคำเนินงานด้านการส่งเสริมการท่องเที่ยวขององค์การบริหารส่วนตำบลปางมะผ้า อำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอนในภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยด้านการอำนวยความสะดวกมีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมาตามลำดับคือ ด้านความปลอดภัย ด้านการปฏิบัติงานของบุคลากรผู้ให้บริการ ด้านการประชาสัมพันธ์ และด้านการเดินทางเข้าถึงสถานที่ท่องเที่ยว (2) เมื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของประชาชนต่อการคำเนินงานด้านการส่งเสริมการท่องเที่ยวขององค์การบริหารส่วนตำบลปางมะผ้า อำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลพบว่าผู้ที่มี อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้ และจำนวนครั้งที่มาท่องเที่ยวต่างกัน มีความเห็นแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ส่วนผู้ที่มีเพศต่างกันมีความคิดเห็นไม่ต่างกัน (3) ข้อเสนอแนะแนวทางการคำเนินงานด้านการส่งเสริมการท่องเที่ยวขององค์การบริหารส่วนตำบลปางมะผ้า อำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอน ที่สำคัญ ได้แก่ องค์การบริหารส่วนตำบลควรจัดการประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อทางอินเทอร์เน็ตในเรื่องของประเพณีดั้งเติมของแต่ละชนเผ่า ควรเพิ่มรถ โดยสารประจำทางไปยังสถานที่ท่องเที่ยวต่าง ๆ และควรจัดร้านจำหน่ายอาหารและเครื่องดื่มให้เพียงพอth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการท่องเที่ยว--การมีส่วนร่วมของประชาชน--ไทย--แม่ฮ่องสอนth_TH
dc.subjectการท่องเที่ยว--การจัดการ--ไทย--แม่ฮ่องสอนth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจth_TH
dc.titleความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อการดำเนินงานด้านการส่งเสริมการท่องเที่ยวขององค์การบริหารส่วนตำบลปางมะผ้า อำเภอปางมะผ้า จังหวัดแม่ฮ่องสอนth_TH
dc.title.alternativePeople's opinions on tourism supporting performance of Pang Mapha Sub-district Administrative Organization, Pang Mapha District, Maehongson Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research were to (1) study people’s opinions on tourism supporting performance of Pang Mapha Sub-District Administrative Organization, Maehongson province; (2) compare people’s opinions on tourism supporting performance of Pangmapha Sub-District Administrative Organization, Pang Mapha District, Maehongson province classified by personal factor; and (3) to recommend appropriate approaches to enhance tourism supporting performance of Pang Mapha Sub-District Administrative Organization, Pang Mapha District, Maehongson province. Population comprises 122,626 tourists from which 400 samples wer drawn via Yamane at calculation. Instrument used was questionnaire. Simples sampling method was applied. Statistical tools employed were frequency, percentage, mean, standard deviation, T-test and F-test. Research results indicated that (1) the people’s overall opinions on tourism supporting performance of Pang Mapha Sub-District Administrative Organization, Pang Mapha District, Maehongson province were at high level, with highest mean on accommodation aspect, followed safety, officials’s sevice performance, public relations and access the area, respectively; (2) when compare people’s opinions differences were found among the opinions of samples with different age, education, occupation, income and number of visits at 0.05 level of significance. While people of different genders did not have different opinions; and (3) major recommendations were Pang Mapha Sub-District Administrative Organization should put more emphasis on public relations particularly via internet so to publicize more information on traditions and cultures of different tribes in Pang Mapha, easy access to the area should be considered important: more transportation to tourist destination should be provided, moreover, more shops for food and beverages should be set up in the area to match with number of touristsen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_128874.pdfเอกสารฉบับเต็ม16.02 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons