Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8341
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorฉัตรชัย ลอยฤทธิวุฒิไกร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorจุฬาลักษณ์ คณารักษ์, 2503-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-07-31T09:42:19Z-
dc.date.available2023-07-31T09:42:19Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8341-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) เปรียบเทียบภาพลักษณ์ของขนมปังตราฟาร์มเฮาส์ตามการรับรู้ของลูกค้าด้านตราสินค้า ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านการสื่อสารและด้านการกระทำ และ(2) เปรียบเทียบภาพลักษณ์ของขนมปังตราฟาร์มเฮาส์ตามลักษณะส่วนบุคคล การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากร คือ ลูกค้าที่ซื้อขนมปังฟาร์มเฮาส์ในร้านค้า ที่มีผลิตภัณฑ์ของฟาร์มเฮาส์ ที่ไม่ทราบจำนวนที่แน่นอน กำหนดขนาดโดยใช้ความคลาดเคลื่อนที่ระดับ 0.05 จำนวน 384 คนสุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ ข้อมูลโดย ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ได้แก่การทดสอบค่าทีและค่าเอฟ ผลการศึกษาพบว่า (1) ภาพลักษณ์ขนมปังฟาร์มเฮาส์ตามการรับรู้ของลูกค้าด้านตราสินค้า เป็นขนมปังที่มีจำหน่ายมานาน เป็นสินค้าที่มีคุณภาพ สามารถจดจำสัญลักษณ์ของฟาร์มเฮาส์ได้และเป็น ยี่ห้อที่ถูกเลือกพิจารณาซื้อเป็นอันดับแรก ภาพลักษณ์ขนมปังฟาร์มเฮาส์ตามการรับรู้ของลูกค้าด้าน ผลิตภัณฑ์ พบว่า มีการบอกวันผลิตและวันหมดอายุของผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์มีความปลอดภัย สด สะอาดและสามารถรับประทานได้สะดวก ภาพลักษณ์ขนมปังฟาร์มเฮาส์ตามการรับรู้ของลูกค้า ด้าน การสื่อสาร พบว่ามีการโฆษณาแนะนำสินค้าตามสื่อต่าง ๆ สื่อโฆษณาของฟาร์มเฮาส์ ทำให้มีความรู้สึกดี ต่อตัวสินค้า ภาพลักษณ์ขนมปังฟาร์มเฮาส์ตามการรับรู้ของลูกค้าภาพลักษณ์ขนมปังฟาร์มเฮาส์ตามการ รับรู้ของลูกค้าด้านการกระทำ คือโอกาสในการซื้อซ้ำ มีการบอกต่อในสิ่งที่ดีและแนะนำให้คนรู้จักหรือ ผู้อื่นซื้อตาม ตามลำ ดับ (2) การเปรียบเทียบภาพลักษณ์ของขนมปังตราฟาร์มเฮาส์จำแนกตามลักษณะส่วน บุคคลพบว่าเพศ อายุและรายได้ที่ต่างกันมีการรับรู้ภาพลักษณ์โดยรวมของขนมปังตราฟาร์มเฮาส์ ทั้งด้านตราสินค้า ด้านผลิตภัณฑ์ด้านการสื่อสารและด้านการกระทำไม่แตกต่างกันth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการตลาด --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectฟาร์มเฮาส์(ซื่อตราผลิตภัณฑ์)th_TH
dc.subjectชื่อตราผลิตภัณฑ์th_TH
dc.subjectภาพลักษณ์องค์การth_TH
dc.titleภาพลักษณ์ของขนมปังตราฟาร์มเฮาส์ตามการรับรู้ของลูกค้าในเขตอำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานีth_TH
dc.title.alternativeThe brand image of customer perceived to breads of Farmhouse within Muang District, Ubonratchathanee Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study were: (1) to compose image of Farmhouse breads as perceived by the customers by brand , products, communication and action aspects; and (2) to compare brand image of Farmhouse breads by personal appearance. This study was a survey research. Population was current customers who not know the exact number. The sample size was 384 customers with error, tolerances at 0.05 and accidental sampling. A questionnaire was used as a tool for data collection. Data were analyzed, included percentage, mean, standard deviation, t-test,and f-test. The result showed that (1) brand image of Farmhouse breads as perceived by customers brand for a long time was qualified products, remember brance of Farmhouse Brand, and the first brand of pur chasing selection.The product image as perceived by the customers by price include having the manufacturing and expired date, safe, fresh, clean and convenient edible products; by the communication included various media and the advertise made the customers have good recognition to the product; by the action included opportunity, for repeated purchasing, recommendation of these good products, respectively; and (2) comparison by personal was appearance found that gender, age, and income had no difference of brand image perceived in terms of product name product communication, and sectionen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext130041.pdfเอกสารฉบับเต็ม7.33 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons