Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8342
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปภาวดี มนตรีวัต, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอัญชลี คณากูล, 2522-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-07-31T11:23:11Z-
dc.date.available2023-07-31T11:23:11Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8342-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บริการต่อการให้บริการจากที่ทำการไปรษณีย์ จังหวัดภูเก็ต (2) เปรียบเทียบระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บริการต่อการให้บริการจากที่ทำการไปรษณีย์ จังหวัดภูเก็ต จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล และ (3) ศึกษาปัญหาและข้อเสนอแนะของผู้ใช้บริการของที่ทำการไปรษณีย์ จังหวัดภูเก็ต การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้มารับบริการจากที่ทำการไปรษณีย์ จังหวัดภูเก็ต รวมทั้งสิ้นจำนวน 390 คน โดยคำนวณจากสูตรของยามาเน่ จากประชากรทั้งสิ้น ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการรวบรวมข้อมูล สุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ สถิติที่ใช้ วิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และการ ทดสอบค่าเอฟ ผลการศึกษาพบว่า (1) ผู้ใช้บริการมีความพึงพอใจจากการใช้บริการที่ทำการไปรษณีย์ จังหวัดภูเก็ต โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน ความพึงพอใจด้านการให้บริการอย่างเสมอภาค มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ขณะที่ความพึงพอใจในด้านการให้บริการอย่างต่อเนื่อง มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด (2) เมื่อเปรียบเทียบระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บริการจากที่ทำการไปรษณีย์ จังหวัด ภูเก็ต จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล พบว่า ผู้ใช้บริการที่มี เพศ อายุ และการศึกษาต่างกัน มีความพึงพอใจไม่แตกต่างกัน แต่ผู้ที่มีอาชีพและรายได้แตกต่างกัน มีความพึงพอใจต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ 0.05 (3) ปัญหาสำคัญ ได้แก่ ช่องการบริการและจำนวนพนักงานในการบริการไม่เพียงพอ ขาดการประสานงาน สถานที่จอดรถไม่เพียงพอ ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงการให้บริการ คือ ควรพิจารณาเสริมช่องการบริการในช่วงที่ผู้รับบริการหนาแน่น จัดระบบเกี่ยวกับสถานที่จอดรถ เจ้าหน้าที่ควรได้รับการพัฒนาด้านการบริการอย่างมีประสิทธิภาพ โดยเน้นการบริการที่ สามารถสร้างความประทับใจแก่ผู้รับบริการth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectที่ทำการไปรษณีย์ จังหวัดภูเก็ต--ความพอใจของผู้ใช้บริการth_TH
dc.subjectความพอใจของผู้ใช้บริการth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจth_TH
dc.titleความพึงพอใจของผู้ใช้บริการที่ทำการไปรษณีย์ จังหวัดภูเก็ตth_TH
dc.title.alternativeSatisfaction of service recipients on services at Post Office Phuket Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe main objectives of this study were to (1) study level of satisfaction of service recipients on services at post office, Phuket Province and (2) compared level of satisfaction of service recipients on services at post office, Phuket Province, categorized by personal factors (3) examine problems of service recipients on services and recommend appropriate suggestions to improve services at post office, Phuket Province. The study was a survey research. Samples were 390 service recipients at post office, Phuket Province, calculated by Yamane’s method. Instrument used was questionnaire. Accidental sampling method was applied. Statistical tools employed were frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test and F-test. Main findings revealed that (1) satisfaction of service recipients on services at post office, Phuket Province was at high level, with the highest mean on equitable service and the lowest mean on continuous service (2) when compared level of satisfactions by personal factors, no difference was found among satisfactions of service recipients with different gender, age and education,however, satisfactions of service recipients with different careers and income per month were different with statistically significance at 0.05 level (3) major problems were insufficient service windows and service staff, not enough coordination, inadequate parking area, recommendations were more service windows should be provided particularly in busy hours, parking system should be arranged, staff should be provided with training and development in effective services with emphasis on building impression upon those who received services from the officeen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_130058.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.17 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons