Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8354
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorยุทธนา ธรรมเจริญ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorพิมพ์ลภัทร อ้วนนวล, 2526-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-08-02T07:17:59Z-
dc.date.available2023-08-02T07:17:59Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8354-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาความคิดเห็นของลูกค้าธนาคารไทยพาณิชย์จํากัด (มหาชน) ที่ใช้บริการ SCB UP2ME ที่มีต่อส่วนประสมการตลาดทั้ง 7 ด้าน ได้แก่ ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์ ปัจจัยด้านราคา ปัจจัยด้านช้องทางการจัดจำหน่าย ปัจจัยด้านการส่งเสริมการตลาด ปัจจัยด้านการให้บริการ ปัจจัยด้านบุคลากร ปัจจัยด้านกระบวนการ และปัจจัยด้านลักษณะทางกายภาพ และ (2) เปรียบเทียบความคิดเห็นต่อปัจจัยส่วนประสมการตลาด 7 ด้าน จำแนกตามปัจจัยด้านประชากรศาสตร์ ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้เฉลี่ยต่อเดือน การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรคือ ลูกค้าของธนาคารไทยพาณิชย์ จํากัด (มหาชน) ที่ใช้บริการ SCB UP2ME จำนวน 223,928 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรการคำนวณของทาโร่ ยามาเน่ ที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 ได้จำนวน 400 คน สุ่มตัวอย่าง แบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และการวิเคราะห์ความแปรปรวน ผลการศึกษาพบว่าลูกค้าส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุ 31-40 ปี จบการศึกษาระดับปริญญาตรี ประกอบอาชีพพนักงานบริษัทเอกชน และมีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 15,001-30,000 บาท ความถี่ในการ ใช้บริการน้อยกว่า 2 ครั้งต่อวัน และเลือกใช้บริการธุรกรรมของ SCB UP2ME มากกว่า 1 บริการ โดยบริการที่มีผู้ใช้บริการมากที่สุด คือ การโอนเงิน การเช็คยอดเงิน บริการจ่ายตังค์ รับตังค์ บริการเติมเงิน และบริการชำระเงิน ตามลำดับ โดยมีการใช้บริการ SCB UP2ME มาแล้ว 1 - 2 ปี (1) ลูกค้าส่วนใหญ่มีความคิดเห็นต่อส่วนประสมการตลาดในแต่ละด้านอยู่ในเกณฑ์เห็นด้วยมาก ซึ่งเป็นความคิดเห็นเชิงบวกมีเพียงปัจจัยด้านการส่งเสริมการตลาดเท่านั้นที่ลูกค้ามีความคิดเห็นอยู่ในระดับปานกลาง และ (2) ลูกค้าที่มีเพศ และระดับการศึกษาที่แตกต่างกัน มีความคิดเห็นต่อส่วนประสมการตลาดโดยรวมทั้ง 7 ด้าน ไม่แตกต่างกัน และลูกค้าที่มีอายุ อาชีพ และรายได้เฉลี่ยต่อเดือนที่แตกต่างกัน มีความคิดเห็นต่อส่วนประสมการตลาดโดยรวมทั้ง 7 ด้าน แตกต่างกันth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการตลาด --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectธนาคารไทยพาณิชย์--การตลาดth_TH
dc.subjectบัตรเครดิต--การตลาดth_TH
dc.titleส่วนประสมการตลาด SCB UP2ME ตามความคิดเห็นของลูกค้าth_TH
dc.title.alternativeMarketing mix of SCB UP2ME based on customer's opinionen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were to: (1) study customer opinion of the Siam Commercial Bank who ever used service “SCB UP2ME” upon marketing mix (7P) including Product, Price, Place, Promotion, People, Service and Physical Evidence; and (2) compare customer’s opinion toward marketing mix (7P) by using demographic characteristics includes Sex, age, education, occupation, and income. The population consisted were the Siam Commercial Bank customer about 223,928 ever used SCB UP2ME. There were 400 sample size sample size was 400 by using Taro Yamane formula is used in this research with, 95 % is the level of confidence interval. The sampling was purposive collected. The research instrument was the questionnaire. Statistics analysis was percentage, mean, standard deviation T-test and analysis of variance. The results found the most customer were female, age between 31-40 years of graduate level. They are in the private employees with the average income between 15,001 - 30,000 baths. The frequency of service usage was less than two times a day and service transactions of SCB UP2ME were used for more than one service. The most frequent transactions were money transfer, checking the balance, making payment, receiving money, Toping up and bill payment, respectively, and usage duration for SCB UP2ME was around 1-2 years. (1) Customer opinion toward SCB UP2ME was found that most customers agree with all aspects of marketing mix in high level. Except Promotion factor which were only moderately agreed; and (2) the customer factors of sex and education shown no difference on customer opinion toward the marketing mix of SCB UP2ME. The customer factors of age occupation and Income held a differences on opinion by all marketing mixs of SCB UP2MEen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
futtext_150230.pdfเอกสารฉบับเต็ม10.81 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons