Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8356
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอโณทัย งามวิชัยกิจth_TH
dc.contributor.authorสิริลักษณ์ เงินศิริ, 2532-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-08-02T07:46:38Z-
dc.date.available2023-08-02T07:46:38Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8356en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ลักษณะข้อมูลส่วนบุคคลที่มีผลต่อแนวโน้มการตัดสินใจซื้อสินค้าในแต่ละประเภทของสื่อสังคมออนไลน์และ (2) ประเภทของสื่อสังคมออนไลน์ที่มีผลต่อแนวโน้มการตัดสินใจซื้อสินค้า การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลอง ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ ผู้ใช้งาน อินเทอร์เน็ตที่เป็นคนไทย จำนวน 38,000,000 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรการคำนวณ ของทาโร่ยามาเน่ ที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 ได้จำนวน 402 คน โดยแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม คือ กลุ่มประเภทของสื่อสังคมอออนไลน์เฟซบุ๊ก จำนวน 134 คน กลุ่มประเภทของสื่อสังคมออนไลน์ ไลน์ จำนวน 134 คน และกลุ่มประเภทของสื่อสังคมออนไลน์อินสตาแกรม จำนวน 134 คน ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถามอิเล็กทรอนิกส์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ความถี่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การเปรียบเทียบ ค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่างที่เป็นอิสระต่อกัน และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างที่ผู้ศึกษารวบรวมได้อัตราส่วนของเพศหญิงมีมากกว่าเพศชาย โดยส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง 26-35 ปี สถานภาพโสด มีการศึกษาอยู่ในระดับปริญญาตรี หรือเทียบเท่า รายได้เฉลี่ยต่อเดือน 15,000 – 25,000 บาท โดยประกอบอาชีพเป็นพนักงานบริษัท (1) ลักษณะข้อมูลส่วนบุคคลด้านอาชีพที่แตกต่างกันมีผลต่อแนวโน้มการตัดสินใจซื้อสินค้าของ ผู้บริโภคในประเทศไทยบนสื่อสังคมออนไลน์เฟซบุ๊กที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 และ (2) ประเภทของสื่อสังคมออนไลน์ที่มีผลต่อแนวโน้มการตัดสินใจของผู้บริโภคมากที่สุด คือ อินสตาแกรมth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการตลาด--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสื่อสังคมออนไลน์th_TH
dc.subjectการซื้อสินค้า--การตัดสินใจth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การตลาดth_TH
dc.titleประเภทของสื่อสังคมออนไลน์ที่มีผลต่อแนวโน้มการตัดสินใจซื้อสินค้าของผู้บริโภคในประเทศไทยth_TH
dc.title.alternativeType of social network affecting purchase decision tendency of consumer in Thailanden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research aimed to study: (1) demographic characteristics affecting purchasing decision tendency of consumer in each type of social media; and (2) type of social media affecting purchasing decision tendency. The research was experimental design. The population was 38,000,000 Thai internet users. The sample calculation used Taro Yamane formulation to be 402 who was separated to 3 groups; 134 respondents in facebook exposed group, 134 respondents in line exposed group and 134 respondents instagram exposed group. The data collection was multistage sampling. The instrument was questionnaire. The statistical analysis were percentage, mean, standard distribution, independent sample-compared mean and analysis of variance. The findings revealed that: samples mostly were more female than male, age 26-35 years old, single, bachelor degree or equal, average monthly income 15,000 – 25,000 baht and private employees; (1) different career affected on purchasing decision tendency in only facebook exposed group with statistical significant equal to 0.05; and (2) the type of social media affected on purchasing decision tendency the most was Instagram.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_150932.pdf12.69 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons