Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8357
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเสาวภา มีถาวรกุล อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสุปราณี ข่าทิพย์พาที, 2526-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-08-02T08:11:51Z-
dc.date.available2023-08-02T08:11:51Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8357-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ซื้อยาสีฟัน (2) ระดับความสำคัญของส่วนประสมการตลาดที่มีต่อการซื้อผลิตภัณฑ์ยาสีฟันของผู้บริโภคในจังหวัดภูเก็ต (3) พฤติกรรมการซื้อยาสีฟันของผู้บริโภคในจังหวัดภูเก็ต การศึกษาในครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรที่ใช้ในการศึกษาคือผู้บริโภคที่ทำการซื้อยาสีฟันในจังหวัดภูเก็ต เพื่อใช้ส่วนตัวและภายในครอบครัว โดยไม่ทราบจำนวนประชากร ที่แน่นอน และได้กำหนดขนาดตัวอย่าง โดยใช้ความเชื่อมั่นร้อยละ 95 จำนวน 400 ตัวอย่าง โดยใช้วิธีการสุ่มแบบสะดวก เครื่องมือที่ใช้คือแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาพบว่า (1) ผู้บริโภคส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุระหว่าง 31-40 ปี สำเร็จการศึกษาระดับชั้นปริญญาตรี ประกอบอาชีพเป็นพนักงานเอกชน มีรายได้ต่อเดือน 20,001-30,000 บาท มีสถานภาพสมรส มีจำนวนสมาชิกในครอบครัว 3-4 คน ไม่เป็นโรคในช่องปาก และมีประวัติ การพบทันตแพทย์ 1 ครั้ง/ปี (2) ปัจจัยส่วนประสมการตลาดมีความสำคัญต่อการซื้อยาสีฟันของผู้บริโภคโดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาแยกเป็นรายด้าน พบว่ามีความสำคัญในระดับมาก ทั้ง 4 ด้าน โดยปัจจัยที่มีระดับความสำคัญมาเป็นอันดับ 1 คือปัจจัยด้านการจัดจำหน่าย รองลงมา คือด้านราคา ด้านผลิตภัณฑ์ และด้านการส่งเสริมการตลาดตามลำดับ (3) พฤติกรรมการซื้อยาสีฟันภายในประเทศของผู้บริโภค พบว่าผู้บริโภคส่วนใหญ่มีความภักดีต่อตราสินค้าคือเลือกบริโภคตรา สินค้าคอลเกตทั้งที่เคยซื้อในอดีตและซื้อในปัจจุบัน โดยวัตถุประสงค์ในการซื้อเพื่อลมหายใจหอม สดชื่น ลดกลิ่นปาก โดยรับข้อมูลผ่านสื่อทางโทรทัศน์ สถานที่เลือกซื้อยาสีฟันสินค้าเป็นซุปเปอร์ เซ็นเตอร์ เช่น โลตัส บิ๊กซี ฯลฯ เวลาที่ซื้อ ซื้อเมื่อยาสีฟันหมด ความถี่ในการซื้อสินค้า 1 ครั้งต่อ 2 เดือน ขนาดของยาสีฟัน 160 กรัม (ขนาดกลาง) ปริมาณการซื้อ 1 หลอดต่อครั้ง ผู้ที่มีอิทธิพลต่อการ ซื้อคือตัวผู้ซื้อเองth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการตลาด --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectยาสีฟันth_TH
dc.subjectพฤติกรรมผู้บริโภคth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การตลาดth_TH
dc.titleพฤติกรรมการซื้อยาสีฟันของผู้บริโภคในจังหวัดภูเก็ตth_TH
dc.title.alternativeToothpaste purchasing behavior of Customers in Phuket Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis independent study aims primarily (1) to study the personal characteristics of toothpaste consumers in Phuket Province; (2) to study the significance level of the marketing mix factors influencing toothpaste purchasing decisions of consumers in Phuket Province; and (3) to study toothpaste purchasing behavior of consumers in Phuket Province. This study was a survey research. The population was infinite people who live in Phuket Province and buy a toothpaste for both personal and family use. The sample size was 400, with the confidence level of 95 percent. The tool used for data collection was a questionnaire. Descriptive statistical analysis used was frequency, percentage, mean, and standard deviation. This study has found that: (1) most of the respondents were married females with a bachelor degree, aged between 31 and 40 years old, worked for private firms and whose income ranged from 20,001 to 30,000 baht. There were approximately 3 to 4 people in their family, all of whom did not have any mouth diseases and saw the dentist once a year. (2) All of the marketing factors were very significant at a high level in terms of purchasing toothpaste Phuket Province. The most significant factor was place, price, product, and promotion, respectively. (3) The study has also found that most responding consumers were loyal to their preferred brand. If they used to buy Colgate’s products in the past, they tend to continue buying Colgate’s now. The reason why they purchased was their fresh breath and reduction bad breath. They received information through television, and the place they went to buy was a so-called ‘supercenter,’ such as Lotus and Big C. They usually purchased when their toothpaste ran out, with a frequency of one time per every two months. The average size of the toothpaste bought was 160g (medium-sized). They bought just one toothpaste per shopping time. The person influencing buying decision was themselvesen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_151513.pdfเอกสารฉบับเต็ม6.94 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons