Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8371
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวราภรณ์ รุ่งเรืองกลกิจ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorพระบุญใหม่ วงศ์หาญ, 2490-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-08-02T13:28:55Z-
dc.date.available2023-08-02T13:28:55Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8371-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระเรื่อง การพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมของผู้บริหารการศึกษามี วัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาคุณธรรมจริยธรรมที่จำเป็นสำหรับผู้บริหารสถานศึกษา 2) เสนอแนวทางการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมที่จำเป็นสำหรับผู้บริหารสถานศึกษา การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิงคุณภาพโดยการศึกษาจากข้อมูลทุติยภูมิเป็นหลัก และเสริมด้วยข้อมูลปฐมภูมิที่ได้จากการสัมภาษณ์ผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนประถมศึกษาในอำเภอฝาง สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 3 จำนวน 16 ท่าน โดยการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงเครื่องมือที่ใช้ในศึกษาคือแบบสัมภาษณ์ การวิเคราะห์ข้อมูล ใช้การวิเคราะห์เนื้อหา และการวิเคราะห์ด้วยสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ และค่าเฉลี่ย สรุปผลการศึกษา ได้ดังนี้ (1) คุณธรรมและจริยธรรมที่จำเป็นสำหรับผู้บริหารสถานศึกษา มี 3 ด้าน คือ 1) คุณธรรมจริยธรรมด้านการครองตน ได้แก่ ฆราวาสธรรม 4 และสติสัมปชัญญะ 2) คุณธรรมจริยธรรมด้านการครองคน ได้แก่ สังคหวัตถุ 4 และพรหมวิหาร 4 และ 3) คุณธรรมจริยธรรม ด้านการครองงาน ได้แก่ อิทธิบาท 4 และราชสังคหวัตถุ 4 (2) แนวทางการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมที่ จำเป็นสำหรับผู้บริหารสถานศึกษา อาจพิจารณาได้จากทฤษฎีการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม ซึ่งที่สำคัญมี 6 กลุ่มด้วยกันคือ 1) กลุ่มแนวคิดทฤษฎีพัฒนาการทางความคิด 2) กลุ่มแนวคิดจิตพิสัย 3) กลุ่มแนวคิด พฤติกรรมนิยม 4) กลุ่มแนวคิดจิตพฤติกรรมศาสตร์ 5) กลุ่มแนวคิดสังคมวิทยา 6) กลุ่มแนวคิดทางศาสนา และ (3) ข้อเสนอแนะ 1) เชิงนโยบาย รัฐบาลต้องกำหนดเป็นนโยบายที่ชัดเจนในการที่จะส่งเสริมคนดี และแก้ไขหรือขจัดคนไม่ดีออกจากระบบราชการโดยเฉพาะสถานศึกษา 2) ในทางปฏิบัติ กระทรวงศึกษาธิการ และสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ต้องกำหนดเกณฑ์ในการดำเนินการตามนโยบายรัฐบาล เช่น การเสริมแรงโดยการให้รางวัลสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาที่ทำดี โดยมีกระบวนการในการคัดเลือกคนดี ประกาศเผยแพร่ยกย่องเชิดชูเป็นแบบอย่างของสังคม รวมทั้งกำหนดรางวัลเพื่อตอบแทนความดี และ สร้างแรงจูงใจให้คนอื่น ๆ ปฏิบัติตามด้วย กำหนดคะแนนด้านพฤติกรรมคุณธรรมจริยธรรม ในการ ประเมินผลการปฏิบัติงานให้มากขึ้น และนำผลจากการได้รับรางวัลตามข้อ 2.1 มาคิดคะแนนด้วย ลงโทษ ทางวินัยผู้ที่มีพฤติกรรมไม่เหมาะสมอย่างเข้มงวด จริงจัง และรวดเร็ว เพื่อป้องปรามมิให้ผู้อื่นกระทำตาม 3) ในการวิจัยครั้งต่อไป เนื่องจากการสถานศึกษาทุกระดับเป็นสถาบันทางสังคมที่สำคัญ ในการวิจัยครั้งต่อไป จึงควรศึกษาสถานศึกษาในระดับอื่น ๆ ด้วยth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectจริยธรรมในการทำงานth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจth_TH
dc.subjectการพัฒนาจริยธรรมth_TH
dc.subjectผู้บริหารโรงเรียนth_TH
dc.titleการพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษาth_TH
dc.title.alternativeMoral development of school administratorsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis study of morals and ethics development of school administrators aimed to (1) study morals and ethics development necessary for school administrators and (2) propose appropriate approaches to develop morals and ethics necessary for school administrators. This study was a qualitative research using secondary data as main resource and add up with primary data from interviewing 16 school administrators of Primary School at Phang district, under Chiang Mai Education Service Area Office Zone 3. Purposive sampling method was applied. Interview was used as instrument. Statistical tools employed were content analysis, frequency, percentage, and mean. The study results showed that: 1) morals and ethics development necessary for school administrators comprised 3 aspects ; (1) self-controllable moral such as Gharavasa-dhamma 4 and sensibility (2) person controllable moral such as Sangahavatthu 4 and Holy abiding 4 (3) work controllable moral such as Iddhipada 4 and A Rule’s Base of Sympathy 4. 2) appropriate approaches to develop morals and ethics of school administrators might be considered from morals and ethics development theory in 6 groups which focused on (1) creativity development concept (2) affective concept (3) behaviorism concept (4) behavioral sciences concept (5) sociology concept (6) religion concept; recommendations were ; on policy aspect: the government should announce clear policy to promote decent person, while eliminate the bad ones from academic system. Ministry of Education and Office of the Basic Education Commission should set up criteria for government policy implementation, including providing positive reenforcement i.e. rewards for those with good deeds who had been selected with proper selection method, while at the same time praising them as role model, which would thus convince others to follow. More points should be assigned, in performance appraisal, for those with ethical behavior, with combination of points from rewards obtained in the past. Those with improper disciplinary behavior should be strictly punished immediately to prevent others from following; and since all levels of academic institutes were major social institutes, research concerning this same topic should be encourageden_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_134760.pdfเอกสารฉบับเต็ม8.04 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons