กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8386
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC | ค่า | ภาษา |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | จุมพล หนิมพานิช | th_TH |
dc.contributor.author | วันดี กิมล่อง, 2519- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-08-03T03:32:41Z | - |
dc.date.available | 2023-08-03T03:32:41Z | - |
dc.date.issued | 2549 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8386 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ประเมินความสำเร็จในการให้บิรการประชาชนขององค์การบริหารส่วนตำบลในเขตจังหวัดนครศรีธรรมราช (2) ศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการให้บริการประชาชนขององค์การบริหารส่วนตำบลในเขตจังหวัดนครศรีธรรมราช (3) เสนอแนะแนวทางปรับปรุงและพัฒนาระบบการให้บริการประชาชนขององค์การบริหารส่วนตำบลในเขตจังหวัด นครศรีธรรมราชการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ โดยประชากรที่ศึกษาเป็นองค์การบริหารส่วนตำบลในจังหวัดนครศรีธรรมราช และกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ ประชาชนผู้รับบริการ จำนวน 400 คน และเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ จำนวน 286 คน จากองค์การบริหารส่วนตำบล 114 แห่ง เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม จำนวน 2 ชุด ชุดแรกใช้สอบถามประชาชนผู้รับบริการ ชุดที่สองใช้สอบถามเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการโดยมีค่าความน่าเชื่อถือเท่ากับ .96 และ .79 สำหรับสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และใช้การวิเคราะห์ถดถอยเชิงพหุ ผลการวิจัยพบว่า (1) ระดับความสำเร็จในการให้บริการประชาชนโดยภาพรวมอยู่ในระดับมากกว่าร้อยละ 70 โดยได้ค่าจากการทดสอบ นัยสำคัญน้อยกว่า .05 และ ค่าที มากกว่า 0 ซึ่งสอดคล้องกับสมมติฐานที่ตั้งไว้ (2) การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยต่าง ๆ กับระดับประสิทธิผลและประสิทธิภาพ พบว่า ปัจจัยด้านหลักการบริการสาธารณะ ระบบการให้บริการ การมีส่วนร่วมของประชาชนและพฤติกรรมการให้บริการ มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับประสิทธิผลการให้บริการประชาชนและปัจจัยด้านความพร้อมของทรัพยากรการบริหารและกระบวนการบริหารจัดการมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับประสิทธิภาพการให้บริการประชาชน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 จากการวิจัยมีข้อเสนอแนะในการพัฒนาการให้บริการ ได้แก่ การพัฒนาหลักการบริการสาธารณะ การพัฒนาระบบการให้บริการ การพัฒนาการมีส่วนร่วมของประชาชน การพัฒนาพฤติกรรมการให้บริการ พัฒนาความพร้อมของทรัพยากรการบริหารและพัฒนากระบวนการบริหารจัดการ | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2006.140 | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | องค์การบริหารส่วนตำบล--ไทย--นครศรีธรรมราช | th_TH |
dc.subject | บริการสาธารณะท้องถิ่น--ไทย--นครศรีธรรมราช | th_TH |
dc.title | ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการให้การบริการประชาชนขององค์การบริหารส่วนตำบล : กรณีศึกษาจังหวัดนครศรีธรรมราช | th_TH |
dc.title.alternative | Factors influencing the successful delivery services of subdistrict administrative organization : a case study of Nakhon Si Thammarat Province | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2006.140 | - |
dc.identifier.url | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2006.140 | en_US |
dc.degree.name | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาการจัดการ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were to : (1) study the successful service delivery provided by subdistrict administrative organization (2) study the factors influencing the efficiency and effectiveness of registration service delivery provided by subdistrict administrative organization and (3) suggest to increase the higher efficiency and effectiveness. The study was a survey research. Population were subdistrict administrative organizations in Nakhon Si Thammarat Province. Sample sizes were 400 service recipients and 286 officers in 114 subdistrict administrative organizations. Instrument used were questionnaires, with .96 and .79 reliability tested. Statistical tools employed were percentages, mean, standard deviation, t-test and stepwise regression analysis. The research finding showed that (1) efficiency of the registration of the registration service delivery were higher than 70% at < .05 at level of significance and t value >0(2) Four factors influenced the efficiency - the public service principle, the public service system, the public service participation and the public service behavior - were significantly related positively with the efficiency at < .05 level and administrative resources factor and administrative process - were significantly related positively with the effectiveness at <.05 level. Recommendation for increasing the successful service delivery provided by subdistrict administrative organization were the management should support to develop public service principle, public service system, public service participation ,public service behavior, administrative resources and administrative process. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | เทพศักดิ์ บุณยรัตพันธุ์ | th_TH |
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล: | Manage-Theses |
แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม | รายละเอียด | ขนาด | รูปแบบ | |
---|---|---|---|---|
100906 .pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 10.75 MB | Adobe PDF | ดู/เปิด |
รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License