Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8389
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกิ่งพร ทองใบ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorราณี อิสิชัยกุล, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวรรณวิภา แสงสารพันธ์, 2513--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-08-03T04:08:38Z-
dc.date.available2023-08-03T04:08:38Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8389-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน (2) ศึกษา ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน (3) เสนอแนะแนวทางในการเสริมสร้างความพึงพอใจ ในการปฏิบัติงานของพนักงานรายวัน บริษัท แพ็คฟุ้ด จำกัด (มหาชน) ประชากร ได้แก่ พนักงานรายวัน บริษัท แพ็คฟุ้ด จำกัด (มหาชน) จำนวน 4,740 คน กลุ่มตัวอย่างเป็นพนักงานรายวันสายการผลิตจำนวน 400 คน สุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิและใชัแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถติ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ผลการวิจัยพบว่า (1) ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานรายวัน บริษัท แพ็คฟุ้ด จำกัด (มหาชน) โดยภาพรวมมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก (X = 4.04) เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน 7 ด้านอยู่ในระดับสูง โดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหา น้อย ได้แก่ ด้านนโยบายการบริหารงาน ด้านการควบคุม/การบังคับบัญชา ด้านสภาพแวดล้อมในการ ทำงาน ด้านความก้าวหน้า/ความสำเร็จในงาน ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลในหน่วยงาน ด้านระบบ การให้รางวัลและการประเมินผลงาน ด้านเงินเดือนและค่าตอบแทน (2) ลักษณะส่วนบุคคล ด้านระดับ การศึกษา อายุงาน และรายได้ต่อเดือนที่แตกต่างกันทำให้ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานแตกต่างกันอย่างมี นัยสำคัญ ที่ระดับ 0.05 ลักษณะส่วนบุคคลอื่นด้าน อายุ เพศ สถานภาพสมรส ไม่มีอิทธิพลต่อความ พึงพอใจในการปฏิบัติงานไม่แตกต่างกัน ลักษณะงาน ด้านสายงาน และเวลาปฏิบัติงานที่ต่างกันทำให้ความ พึงพอใจในการปฏิบัติงานแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05 (3) ข้อเสนอแนะเพื่อทำให้พนักงาน มีความพึงพอใจในการปฏิบัติงานยิ่งขึ้นจากข้อคิดเห็นของพนักงานและผลการวิจัย ได้แก่ ฝ่ายบริหารควร ปรับปรุงสภาพแวดล้อมในการทำงาน สวัสดิการด้านนันทนาการ ค่าตอบแทน และสิทธิประโยชน์อื่นๆ ให้เหมาะสม การสนับสนุนการศึกษาต่อ การจัดให้ผู้บริหารพบปะกับพนักงานบ่อยครั้ง และสื่อสาร ทำความเข้าใจในเรื่องต่างๆ เพิ่มขึ้น การสร้างความมั่นใจแก่พนักงานในด้านความมั่นคงของอาชีพth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2006.152en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectบริษัทแพ็คฟู้ด -- พนักงาน -- ความพอใจในการทำงานth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานรายวันบริษัท แพ็คฟู้ด จำกัด (มหาชน)th_TH
dc.title.alternativeFactors influencing job satisfaction of daily operators of Pakfood Public Companyth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were : 1) to study the levels of job satisfaction 2) to study the factors that influences employees’ job satisfaction and 3) to recommend guidelines in order to increase job satisfaction of daily operators of Pakfood Public Company. Population were 4,470 daily operators of Pakfood Public Company. Sample size of 400 daily staff working in the production line by stratified random sampling, and questionnaires were use as a tool to collect data. Statistics applied for data analysis included percentage, mean, t-test, and one-way ANOVA analysis of variance. The research findings showed that (1) the level of job satisfaction of daily operators of Pakfood Public Company was at the high level.(x= 4.04) When each factors of the job satisfaction was analyzed individually, the results showed that most of the aspects of their job satisfaction were still at the high level; namely policy and administration, supervisory and controlling, work condition, job accomplishment, interpersonal relationship, reward and assessment, salary' and welfare. (2) The personal characteristic such as education level, year of work, average income were influenced to job satisfaction of daily operators at significant level of 0.05. Others personal characteristic such as age, gender, marital status differences did not affected to job satisfaction of daily operators while the differences. Job characteristic such as departmental ion, time of work difference were influence significant at level of 0.05. (3) Recommendations increasing for job satisfaction were propose to improve working condition, recreational welfare room, appropriate remuneration, benefits, encourage to knowledge enrichment, arrangement of the meeting between the executives and operators, internal communication, and encourage job securityen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
100909.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.53 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons