Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8393
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรรณวิภา เมืองถ้ำ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวิศัลยา มุสิกรัตน์, 2530-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-08-03T06:08:33Z-
dc.date.available2023-08-03T06:08:33Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8393-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาแนวคิด ทฤษฎี เกี่ยวกับมาตรการของการคุ้มครองพยานจากการค้ามนุษข์ ตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองพยานในคดีอาญาทั้งกฎหมายไทยและกฎหมายต่างประเทศ (2) เพื่อนำผลการวิเคราะห์และกำหนดแนวทางการแก้ไขปัญหามาตรการในการคุ้มครองพยานในคดีค้ามนุษข์ ตลอดจนเสนอแนะการปรับปรุงกฎหมาย (3) เพื่อให้การบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับการมาตรการ ในการคุ้มครองพยาน ในคดีค้ามนุษย์ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองพยานในคดีอาญา พ.ศ.2546 มีประสิทธิภาพสอดคล้องกับสภาพสังคมในปัจจุบันมากยิ่งขึ้นการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการวิจัยเอกสารด้วยการศึกษา ค้นคว้าและรวบรวมข้อมูลจากหนังสือ ตำรา บทความทางวิชาการ รายงานการวิจัย ประมวลกฎหมาย คำพิพากษาของศาล วิทยานิพนธ์ สารนิพนธ์ ข้อมูลทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์และเครือข่ายอินเตอร์เน็ต ตลอดจนบทบัญญัติของกฎหมายที่เกี่ยวข้องทั้งของไทยและต่างประเทศ ผลการศึกษาพบว่า ประเทศไทยยังมีประเด็นปัญหาบางประการ คือ (1) ไม่มีกฎหมายคุ้มครองพยานที่เกี่ยวกับการค้ามนุษข์ในเรื่องกันพยาน (2) ประเด็นเรื่องค่าสินไหมทดแทน (3) มาตรการพิเศยในการคุ้มครองพยานค้ามนุยย์ในกรณีฉุกเฉิน ดังนั้น การ ให้ความคุ้มครองเพื่อให้พยานรู้สึกว่าตนเองและบุคคลในครอบครัวได้รับความปลอดภัยและเกิดความเชื่อมั่นในกระบวนการยุติธรรม เพื่อให้การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบและการบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับมาตรการในการคุ้มครองพยานในคดีค้ามนุษย์เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและสอดคล้องและรองรับกับสถานการณ์ปัจจุบัน จึงควรปรับปรุงแก้ไขพระราชบัญญัติคุ้มครองพยานในคดีอาญาพ.ศ. 2546 และพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ. 2551th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช-
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช-
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectพยานบุคคล--การคุ้มครองth_TH
dc.subjectพยานหลักฐานth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.--สาขาวิชานิติศาสตร์--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.--วิชาเอกกฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.titleมาตรการในการคุ้มครองพยานตามพระราชบัญญัติคุ้มครองพยานในคดีอาญา พ.ศ. 2546 : ศึกษากรณีการค้ามนุษย์th_TH
dc.title.alternativeWitness protection measure pursuant to the Witness Protection in Criminal Case Act B.E.2546 (2003) : Case Study of the Human Traffickingth_TH
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
163396.pdfFulltext14.18 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons