Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8406
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวราภรณ์ รุ่งเรืองกลกิจ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสุนิสา จุ้ยม่วงศรี, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorปรัชญาพงศ์ พรหมพล, 2497--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-08-03T08:29:16Z-
dc.date.available2023-08-03T08:29:16Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8406-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1)เพื่อศึกษาปัญหาอุปสรรคในการพัฒนาฝีมือแรงงาน หลักสูตรฝึกเตรียมเข้าทำงาน ของสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานภาค 9 พิษณุโลกและศูนย์พัฒนาฝีเมือ แรงงานจังหวัดในเครือข่ายแบ่งเป็น 5 ด้าน ได้แก่ ด้านครูฝึกฝีมือแรงงาน ด้านหลักสูตรการฝึกฝีมือแรงงาน ด้านสถานที่ฝึกอบรมฝีมือแรงงาน ด้านเงินอุดหนุน และด้านการประชาสัมพันธ์ (2) เพื่อเปรียบเทียบ ปัญหาอุปสรรคในการพัฒนาฝีมือแรงงานตามความคิดเห็นของผู้เข้ารับการฝึกหลักสูตรเตรียมเข้า ทำงานของสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานภาค 9 พิษณุโลกและศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงานจังหวัดในเครือข่าย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้การวิจัยเป็นผู้รับการฝึกหลักสูตรฝึกเตรียมเข้าทำงาน จำนวน 209 คน เครื่องมือในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าร้อยละ ค่าตัวกลางเลข คณิต ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานและการทดสอบค่าที ผลการศึกษาพบว่า 1) ปัญหาอุปสรรคในการพัฒนาฝีมือแรงงาน ในความคิดเห็นของผู้รับ การฝึก หลักสูตรฝึกเตรียมเข้าทำงานซึ่งเป็นปัญหาอุปสรรคในระดับปานกลาง ได้แก่ ด้านครูฝึกฝีมือแรงงาน ที่ขาดทักษะในการใช้เครื่องมือเครื่องจักรและเทคนิคการถ่ายทอดที่หลากหลาย ด้านหลักสูตรฝึกฝีมือแรงงาน ในเรื่องเนื้อหาสาระและระยะเวลาที่ฝึก ด้านสถานที่ฝึกฝีมือแรงงานที่มีที่ตั้งอยู่ห่างไกล หัวเมืองและไม่มีรถประจำทางวิ่งผ่านเป็นปัญหาต่อการเดินทางและด้านเงินอุดหนุนมีปัญหาการจ่ายเงินที่ ล่าช้าและจำนวนเงินที่ได้รับไม่เพียงพอต่อค่าครองชีพในปัจจุบัน ส่วนปัญหาที่สำคัญอยู่ในระดับมาก ได้แก่ ด้านการประชาสัมพันธ์ในเรื่องการประกาศข่าวสารการรับสมัครของสถาบัน/ศนย์พัฒนาฝึกฝีมือแรงงาน จังหวัดขาดการนำออกเผยแพร่สู่สาธารณชน ไม่พบป้ายประกาศและสื่อสิ่งพิมพ์เพื่อเผยแพร่ภารกิจ ข่าวสาร 2) เมื่อเปรียบเทียบปัญหาอุปสรรคในการพัฒนาฝีมือแรงงานหลักสูตรฝึกเตรียมเข้าทำงานระหว่าง ผู้รับการฝึกของสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน ภาค 9 พิษณุโลก กับผู้รับการฝึกของศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงาน จังหวัดในเครือข่าย มีความคิดเห็นโดยภาพรวมไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานth_TH
dc.subjectแรงงานฝีมือ -- การฝึกอบรมth_TH
dc.titleปัญหาอุปสรรคในการพัฒนาฝีมือแรงงานหลักสูตรฝึกเตรียมเข้าทำงาน สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานภาค 9 พิษณุโลกและ‪ศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงาน จังหวัดในเครือข่ายth_TH
dc.title.alternativeProblems obstacles of skilled labor development : pre-employment course, Phitsanulok Institute for Skill Development Region 9 and the provincial networkth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were to (1) study the problems obstacles of Skilled Labor Development: Pre-employment Course of Phitsanulok Institute for Skill Development Regions 9 and the provincial network in 5 aspects which were trainers, curriculum, facilities, funding, and public relations and (2) compare the problems obstacles among Phitsanulok Institute and the Phitsanulok provincial network. The samples were participants of Pre-employment Course in Phitsanulok and the provincial network, 209 totally. Instrument used was questionnaire. Statistics employed to analyze data collected were percentage, mean, standard deviation, and t-test The research findings were (1) problems obstacles of the course which were viewed as medium level of problems were the course trainers lack of skill and various of transferring technique, the curriculum itself which is lack of issues and study time, the facilities which arc too difficult to reach there because of the bus line, and the funding which is not enough to spending in each day; problem obstacle the were viewed as high level were public relations of the course, the lack of enough announcement about the course to the public (2) when compared the problem obstacles of the courses provided by Phitsanulok Institute and the provincial network, it was found that the overall view of participants had no differences, with 0.05 level of significanceen_US
Appears in Collections:Manage-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
100920.pdfเอกสารฉบับเต็ม7.02 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons