กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8418
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorอภิญญา วนเศรษฐ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorอภิชา วุฒิสิทธางกูร-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-08-04T03:57:43Z-
dc.date.available2023-08-04T03:57:43Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8418-
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ของการศึกษาเพื่อศึกษา 1) ถึงปัจจัยทางด้านประชากรศาสตร์ที่มีผลต่อการเลือกใช้ บัตรเครดิต 2) พฤติกรรมการใช้บัตรเครดิตธนาคารกรุงเทพและ 3) ความสัมพันธ์ระหว่างรายได้และค่าธรรมเนียม ต่างๆ กับการใช้บัตรเครดิตธนาคารกรุงเทพ การวิจัยครั้งนี้ ใช้แบบสอบถามและทําการสุ่มตัวอย่าง ประชากร คือ กลุ่มคนวัยทํางานโดย จํานวน 400 คน ซึ่งมีช่วงอายุระหว่าง 20 -59 ปี และถือบัตรเครดิตของธนาคารกรุงเทพจะถือบัตรหลักหรือบัตรเสริมก็ได้ ในเขตบางรัก กรุงเทพมหานคร ส่วนการวิเคราะห์เชิงปริมาณจะใช้การวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณในการหา ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร ผลการศึกษาพบว่า 1) จํานวนกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุ 30 – 39 ปี มากที่สุด สถานภาพโสด การศึกษาระดับปริญญาตรี ประกอบอาชีพพนักงานบริษัทเอกชนและมีรายได้ต่อเดือน 50,000 บาท 2) พฤติกรรมการใช้บัตรเครดิต พบว่า มูลค่าที่ใช้จ่ายเฉลี่ยต่อเดือน 10,000 บาท ใช้บัตรมากกวา 4 ครั้ง/เดือน ส่วนใหญ่ไม่ เคยเบิกเงินสด สถานที่ใช้บัตรเครดิตมากที่สุดคือ ห้างสรรพสินค้า ในส่วนค่าธรรมเนียมรายปี ที่คิดว่า เหมาะสม นั่นคือ 100 บาท ส่วนค่าธรรมเนียมในการกดเงินสด 50 บาทกลุ่มตัวอย่างมีระดับความคิดเห็นที่มีต่อ การใช้สินเชื่อบัตรเครดิตด้านผลิตภัณฑ์ในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง แต่ด้านราคา ด้านสถานที่และด้านการ ส่งเสริมการขายในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างปัจจัยด้านประชากรศาสตร์กับ ความคิดเห็นที่มีต่อการใช้สินเชื่อประเภทบัตรเครดิต พบวาเพศที่แตกต่างกันมีความคิดเห็นที่มีต่อการใช้สินเชื่อ ประเภทบัตรเครดิตในด้านผลิตภัณฑ์และด้านการส่งเสริมการขายที่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสําคัญที่ระดับ 0.05 ยกเว้นด้านผลิตภัณฑ์ สถานภาพที่แตกต่างกันมีความคิดเห็นที่มีต่อการใช้สินเชื่อประเภทบัตรเครดิตในด้านต่าง ๆ ที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญที่ระดับ 0.05 ยกเว้นด้านสถานที่ ระดับการศึกษาที่แตกต่างกันมีความคิดเห็นที่มีต่อ การใช้สินเชื่อประเภทบัตรเครดิตในด้านต่าง ๆ ที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญที่ระดับ 0.05 ยกเว้นด้านผลิตภัณฑ์ และด้านราคา อาชีพที่แตกต่างกันมีความคิดเห็นที่มีต่อการใช้สินเชื่อประเภทบัตรเครดิตในด้านต่าง ๆ ที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญที่ระดับ 0.05 ยกเว้นด้านผลิตภัณฑ์ และด้านสถานที่ 3) สําหรับการหาความสัมพันธ์ นั้นพบว่าตัวแปรรายได้ (X1) ไม่มีผลต่อจํานวนเงินที่ใช้ผ่านบัตรเครดิตธนาคารกรุงเทพแต่ค่าธรรมเนียมรายปี (X2) และ ค่าธรรมเนียมการกดเงินสด (X3) ต่างก็มีผลต่อจํานวนเงินที่ใช้ผ่านบัตรเครดิตธนาคารกรุงเทพth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectธนาคารกรุงเทพth_TH
dc.subjectสินเชื่อth_TH
dc.subjectพฤติกรรมผู้บริโภคth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--เศรษฐศาสตร์ธุรกิจth_TH
dc.titleพฤติกรรมการใช้สินเชื่อบัตรเครดิตธนาคารกรุงเทพในเขตบางรักกรุงเทพมหานครth_TH
dc.title.alternativeConsumer behaviors of Bangkok Bank credit cards holders in Bangrak, Bangkok Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were 1) demographic factors affecting the selection of credit card u s age 2) Bangkok Bank credit card usage behaviors and 3) the relationship between income, fees and Bangkok Bank credit card usage. The questionnaires were conducted as a research instrument. The sample group of this study were 400 working people, aged between 20-59 years old and had Bangkok Bank credit card (both of primary or supplemental credit card) in Bang Rak, Bangkok. Quantitative research was conducted with multiple regression analysis to determine the relationships between those related variable factors. The questionnaire was used as a research instrument. The sample of this study was 400 working people aged 20-59 years old that held a Bangkok Bank credit card (for either primary or supplemental credit card) in Bang Rak, Bangkok. Quantitative research used multiple regression analysis to determine the relationships between variables. The results found that 1) the majority of samples were female, aged between 30-39 years old, single, graduated in Bachelor's Degree, working as employees in private companies with monthly income of 50,000 Baht 2) in terms of credit card usage behaviors, found that, average monthly spending of sample groups was 10,000 Baht, credit card usage frequency were over 4 times per month, most of them never withdrew cash, the most common places for using credit card were department stores. In the sample groups opinions, the appropriate annual fees was 100 Baht and cash advance fees was 50 Baht. For the sample groups opinion towards credit card usage, overall products were at moderate level but the price, place, and promotion were at a high level. By comparing different demographic factors, the sample groups with different genders had different opinions toward product and promotion with a significance level of 0.05, except for the product. The sample groups with different marital status had different opinions toward all credit card usage factors with a significance level of 0.05, except for the place. The sample group with different educational level had different opinions toward all credit card usage factors with a significance level of 0.05, except for the product and price. The sample groups with different occupations had different opinions toward all credit card usage factors with a significance level of 0.05, except for the product and place 3) To determine the relationship between variables and incomes ( X1) did not influence the amount of spending through Bangkok Bank credit card. However, annual fees ( X2) and cash advance fees (X3) influenced the amount of spending through Bangkok Bank credit carden_US
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Econ-Independent study

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
159149 (2).pdfเอกสารฉบับเต็ม9.85 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการนี้ได้รับอนุญาตภายใต้ Creative Commons License Creative Commons