Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8425
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนิรนาท แสนสา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorประภาสิริ ทรัพย์วิริยา, 2511-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-08-04T04:21:23Z-
dc.date.available2023-08-04T04:21:23Z-
dc.date.issued2558-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8425en_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบระดับความมุ่งมั่นในการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนพนัสพิทยาคาร ก่อนและหลังการให้การปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบกลุ่มตามทฤษฎีเผชิญความจริง และ (2) เปรียบเทียบระดับความมุ่งมั่นในการเรียนของนักเรียนในระยะหลังการทดลองกับในระยะติดตามผล การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลองโดยมีแบบแผนการวิจัยเชิงกึ่งทดลองแบบกลุ่มเดียว วัดก่อนและหลังการทดลอง กลุ่มตัวอย่างทึ่ใช้ในการวิจัย คือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนพนัสพิทยาคาร จังหวัดชลบุรี ปีการศึกษา 2558 ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจงนักเรียนที่มีระดับคะแนนจากแบบวัดความมุ่งมั่นในการเรียนที่อยู่ในระดับตา และสมัครใจเข้าร่วมการวิจัย จำนวน 10 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ (1) โปรแกรมการให้การปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบกลุ่ม ตามทฤษฎีเผชิญความจริง และ (2) แบบวัดความมุ่งมั่นในการเรียนมีค่าความเที่ยงเท่ากับ .95 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการทดสอบของวิลคอกซัน ผลการวิจัยปรากฏว่า (1) ภายหลังการให้การปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบกลุ่มตามทฤษฎี เผชิญความจริง นักเรียนมีความมุ่งมั่นในการเรียนสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ .05 และ (2) ความมุ่งมั่นในการเรียนของนักเรียนระหว่างระยะหลังการทดลองกับระยะ ติดตามผลไม่แตกต่างกันth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณี.th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการให้คำปรึกษาเชิงจิตวิทยาth_TH
dc.subjectการให้คำปรึกษาแบบกลุ่มth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา.th_TH
dc.titleผลของการให้การปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบกลุ่มตามทฤษฎีเผชิญความจริงเพื่อเสริมสร้างความมุ่งมั่นในการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนพนัสพิทยาคาร จังหวัดชลบุรีth_TH
dc.title.alternativeThe effects of group psychological counseling based on reality therapy theory to enhance commitment to learning of Mathayom Suksa IV students at Phanat Pittayakarn School in Chon Buri Provinceth_TH
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (1) to compare the levels of commitment to learning of Mathayom Suksa IV students at Phanat Pittayakarn School before and after receiving group psychological counseling based on reality therapy theory; and (2) to compare the levels of commitment to learning of the students at the end of the experiment and during the follow up period. This study was an experimental research with the quasi-experiment research design of One Group Pre-Test Post-Test Design. The research sample consisted of 10 Mathayom Suksa IV students of Phanat Pittayakarn School in Chon Buri province during the 2015 academic year. They were purposively selected because their scores on commitment to learning, as measured by a commitment to learning assessment scale, were at the low level and because of their willingness to joint this research project. The employed research instruments were (1) a program of group psychological counseling based on reality therapy theory; and (2) a commitment to learning assessment scale, with the reliability coefficient of .95. Statistics employed for data analysis were the percentage, mean, standard deviation, and Wilcoxon Matched Pairs Signed Ranks Test. Research findings showed that (1) after receiving group psychological counseling based on reality therapy theory, the students’ post-experiment scores on commitment to learning were significantly higher than their pre-experiment counterpart scores at the .05 level of statistical significance; and (2) the levels of commitment to learning of the students at the end of the experiment and during the follow up period were not significantly different.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_153554.pdfเอกสารฉบับเต็ม30.03 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons