Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8450
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนิธิพัฒน์ เมฆขจร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวิยะดา ศรีจันทึก, 2519-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-08-04T08:21:16Z-
dc.date.available2023-08-04T08:21:16Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8450en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน ของพนักงานระดับปฏิบัติการหน่วยงานชิ้นส่วนภายในประเทศ ของ บริษัท ฮีโน่มอเตอร์ส แมนู แฟคเจอรี่ง (ประเทศไทย) จำกัด สาขาบางปะกง ชังหวัดชลบุรี จำแนกตาม เพศ อายุ สถานะภาพ ระดับการศึกษา รายได้ ประสบการณ์การทำงาน และรูปแบบการสื่อสารในองค์กร วิธีการศึกษาเป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ พนักงานสายปฏิบัติการหน่วยงานชี้นส่วนภายในประเทศ บริษัท ฮีโน่มอเตอร์ส แมนูแฟคเจอรี่ง (ประเทศไทย) จำกัด สาขาบางปะกง จำนวน 233 คน กลุ่มตัวอย่างเป็นพนักงานระดับปฏิบัติการหน่วยงาน ชิ้นส่วนภายในประเทศ ทั้งหมดจำนวน 150 คน ซึ่งได้มาจากการสุ่มอย่างง่ายเครื่องมือที่ใช้ใน การวิจัยได้แก่ แบบสอบถาม รูปแบบการสื่อสารในองค์การ และแบบประเมินแรงจูงใจ มีค่าความ เที่ยงเท่ากับ 0.90 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที การทดสอบค่าเอฟ และการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยรายคู่ด้วยวิธีของเชฟเฟ่ ผลการศึกษา พบว่า พนักงานสายปฏิบัติการหน่วยงานชิ้นส่วนภายในประเทศ ของ บริษัท ฮีโน่มอเตอร์ส แมนูแฟคเจอริ่ง (ประเทศไทย) จำกัด สาขาบางปะกง จังหวัดชลบุรี ที่มีเพศ อายุ สถานะภาพ รายได้ประสบการณ์การทำงาน และรูปแบบการสื่อสารต่างกัน มีแรงจูงใจในการ ปฏิบัติงานไม่แตกต่างกัน ส่วนพนักงานที่มีระดับการศึกษาต่างกันมีแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน แตกต่างกัน และเมื่อทดสอบเป็นรายคู่ พบว่า พนักงานที่จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 กับ พนักงานที่จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพ และพนักงานที่จบการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงมีแรงจูงใจในการปฏิบัติงานแตกต่างกันอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการจูงใจในการทำงานth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยาth_TH
dc.subjectการบริหารงานบุคคลth_TH
dc.titleการศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของพนักงานสายปฏิบัติการหน่วยงานชิ้นส่วนภายในประเทศของบริษัทฮีโน่มอเตอร์ส แมนูแฟคเจอริ่ง (ประเทศไทย) จำกัด สาขาบางปะกง จังหวัดชลบุรีth_TH
dc.title.alternativeA study of motivation factors affecting work performance of operational line employees of the Local Parts Unit, Hino Motors Manufacturing (Thailand) Company Ltd., Bang Pakong Plant, Chon Buri Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study was to investigate the motivation factors affecting work performance of operational line employees of the Local Parts Unit of Hino Motors Manufacturing (Thailand) Company Ltd., Bang Pakong Plant in Chon Buri province as classified by gender, age, marital status, educational level, income, work experience, and pattern of communication in organization. This study was a descriptive research. The research population comprised 233 operational line employees of the Local Parts Unit of Hino Motors Manufacturing (Thailand) Company Ltd., Bang Pakong Plant. The research sample consisted of 150 randomly selected operational line employees of the Local Parts Unit of the Bang Pakong Plant. The employed research instruments were a questionnaire on the pattern of communication in organization, and a motivation assessment scale with reliability coefficient of .90. Statistics for data analysis were the percentage, mean, standard deviation, t-test, F-test, and Scheffe method for pairwise comparison. The findings of this study were that operational line employees of the Local Parts Unit of Hino Motors Manufacturing (Thailand) Company Ltd., Bang Pakong Plant in Chon Buri province with different genders, ages, marital statuses, incomes, work experiences, and patterns of communication in organization did not significantly differ in their levels of work performance motivation; while employees with different educational levels differed significantly in their levels of work performance motivation. The results of pairwise comparison by the Scheffe method showed that the levels of work performance motivation of employees who were Mathayom Suksa III graduates differed significantly from that of employees who were Mathayom Suksa VI graduates and that of employees who had the vocational certificate level of education at the .05 level.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_139296.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.09 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons