Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8455
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วัลภา สบายยิ่ง, อาจารย์ที่ปรึกษา | th_TH |
dc.contributor.author | สุชีรา โพธิ์พันธ์ไม้, 2525- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-08-04T08:36:04Z | - |
dc.date.available | 2023-08-04T08:36:04Z | - |
dc.date.issued | 2556 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8455 | - |
dc.description.abstract | การศึกษาค้นคว้าอิสระครั้งนี้มีวัตุประสงค์เพื่อ (1) เปรียบเทียบความสุขในการเรียนของนักเรียน ระดับมัธยมศึกษาโรงเรียนสีดาวิทยาที่มีปัจจัยทางชีวสังคมต่างกัน (2) ศึกษาความสัมพันธ์ของปัจจัยด้านผู้เรียน ด้านครอบครัว ด้านเพื่อน ด้านผู้สอน และด้านสภาพแวดค้อมทางกายภาพ กับความสุขในการเรียน และ (3) ศึกษา อำนาจการพยากรณ์ความสุขในการเรียนของนักเรียนระดับมัธยมศึกษา โรงเรียนสีดาวิทยา อำเภอสีดา จังหวัด นครราชสีมา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนสีดาวิทยา อำเภอสีดา จังหวัดนครราชสีมาปีการศึกษา 2556 จำนวน 298 คน เครื่องมือที่ใซัในการศึกษา ในครั้งนี้ คือ แบบสอบถามปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อความสุขในการเรียน และแบบประเมินความสุขในการเรียน ของนักเรียนระดับมัธยมศึกษา โรงเรียนสีดาวิทยา อำเภอสีดา จังหวัดนครราชสีมา คำความเที่ยงแบบประเมิน ความสุขในการเรียน เท่ากับ .91 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า (1) นักเรียนระดับมัธยมศึกษา โรงเรียนสีดาวิทยา อำเภอสีดา จังหวัดนครราชสีมา ที่มีอายุและระดับชั้นที่ต่างกันมีความสุขในการเรียนแตกต่างกัน (2) ปัจจัยด้านผู้เรียนเป็นปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ทางบวกกับความสุขในการเรียน ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05 ซึ่งมีความสัมพันธ์กับความสุขในการเรียนจากการ ได้รับการยอมรับ และ (3) ปัจจัยด้านผู้สอน ปัจจัยด้านครอบครัว และปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมทางกายภาพ สามารถร่วมกันพยากรณ์ความสุขในการเรียนของนักเรียนระดับมัธยมศึกษา โรงเรียนสีดาวิทยา อำเภอสีดา จังหวัดนครราชสีมาได้ร้อยละ 26.20 มีความคลาดเคลื่อนมาตรฐานของการพยากรณ์ (S.E...J .35849 สร้างสมการพยากรณ์ความสุขในการเรียนโดยใช้คะแนนดิบ ได้ดังนี้ Y = 2.097 + .189 X4(ปัจจัยด้านผู้สอน) + .129 X 2(ปัจจัยด้านครอบครัว)+ .134 X5(ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมทางกายภาพ) และสร้างสมการพยากรณ์ความสุขในการเรียนโดยใช้คะแนนมาตรฐาน ได้ดังนี้ Z = .256 ZX4(ปัจจัยด้านผู้สอน)+ .202 ZX2(ปัจจัยด้านครอบครัว)+ .215 ZX5(ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมทางกายภาพ) | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา --การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณี | th_TH |
dc.subject | ความสุข | th_TH |
dc.subject | นักเรียนมัธยมศึกษา--กิจกรรมการเรียนการสอน | th_TH |
dc.subject | การศึกษาอิสระ--การแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา | th_TH |
dc.title | ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อความสุขในการเรียนของนักเรียนระดับมัธยมศึกษา โรงเรียนสีดาวิทยา อำเภอสีดา จังหวัดนครราชสีมา | th_TH |
dc.title.alternative | Factors relating to happines in learning of secondary students in Sida Witthaya School, Sida District, Nakon Ratchasima Province | th_TH |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The purposes of this independent study were (1) to compare the happiness in learning of secondary students in Sida Witthaya School who had different biosocial factors; (2) to study the relationships of the student factors, family factors, friend factors, instructor factors and physical environment factors with happiness in learning; and (3) to study the predictive power of the factors for prediction of happiness in learning of secondary students in Sida Witthaya School, Sida District, Nakhon Ratchasima Province. The sample employed in this independent study consisted of 298 Mathayom Suksa I to Mathayom Suksa VI students of Sida Witthaya School, Sida District, Nakhon Ratchasima Province in the 2013 academic year. The employed data collecting instruments were a questionnaire on factors relating to happiness in learning, and an assessment form on happiness in learning for secondary students of Sida Witthaya School, Sida District, Nakhon Ratchasima Province with reliability coefficient of .91. Statistics employed for data analysis were the percentage, mean, standard deviation, correlation coefficient, and multiple regression analysis. The research findings were that (1) secondary students with different ages and different class levels in Sida Witthaya School, Sida Distict, Nakhon Ratchasima Province differed significantly in their levels of happiness in learning; (2) student factors were the factors that positively and significantly correlated at the .05 level with happiness in learning based on being accepted; and (3) the instructor factors, family factors, and physical environment factors could be combined to predict happiness in learning of secondary students in Sida Witthaya School, Sida District, Nakhon Ratchasima Province by 26.20 per cent, with estimated standard error of .35849; the regression equation for prediction of happiness in learning in the forms of raw score and standard score were as follows: Y = 2.097 + .189 X4(Instructor factors) + .129 X 2(Family factors) + .134 X5(Physical environment factors) Z = .256 ZX4(Instructor factors) + .202 ZX2(Family factors) + .215 ZX5(Physical environment factors) | en_US |
Appears in Collections: | Edu-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Fulltext_140816.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 12.02 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License