Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8466
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกิ่งพร ทองใบ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวรนารถ กิจฉวี, 2503-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-08-06T03:14:53Z-
dc.date.available2023-08-06T03:14:53Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8466-
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับเจตคติของผู้ปฏิบัติงาน กฟผ. ที่มี ต่อการประเมินผลการปฏิบัติงาน (2) ศึกษาระดับความรู้ ความเข้าใจของผู้ปฏิบัติงาน กฟผ. ที่มี ต่อการประเมินผลการปฏิบัติงาน (3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างระดับความรู้ ความเข้าใจในการ ประเมินผลการปฏิบัติงานกับระดับเจตคติต่อการประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้ปฏิบัติงาน กฟผ. (4) เสนอแนะแนวทางการพัฒนาและปรับปรุงการประเมินผลการปฏิบัติงาน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเป็นผู้ปฏิบัติงาน กฟผ. ระดับ 7-10 ในสายงานรองผู้ว่าการ บริหารซึ่งใช้ระบบการประเมินผลการปฏิบัติงาน โดยมีการกำหนดตัวชี้วัดความสำเร็จของงานและ เกณฑ์ระดับผลงานสำหรับงวดการประเมินแรกของปี 2550 จำนวน 291 คน เครื่องมือที่ใช้ในการ เก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับลักษณะส่วนบุคคล ระดับเจตคติที่มีต่อการประเมินผล การปฏิบัติงาน และความรู้ความเข้าใจที่มีต่อการประเมินผลการปฏิบัติงาน มีค่าความเชื่อมั่นของ แบบสอบถามเท่ากับ 0.9060 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ก่าร้อยละ ด่าเฉลี่ย ค่าเบื่ยงเบน มาตรฐาน การวิเคราะห์ความแตกต่างของด่าเฉลี่ยแบบที และแบบเอฟ ผลการวิจัยพบว่า (1) ระดับเจตคติของผู้ปฏิบัติงาน กฟผ. ระดับ 7-10 สายรองผู้ว่าการ บริหารที่มีต่อการประเมินผลการปฏิบัติงานอยู่ในระดับไม่แน่ใจ (2) ปัจจัยส่วนขุคคลได้แก่ เพศ และตำแหน่งที่ต่างกันมีระดับเจตคติต่อการประเมินผลการปฏิบัติงานต่างกัน แต่ปัจจัยส่วนบุคคล ด้าน อายุ อายุงาน วุฒิการศึกษา และระดับตำแหน่งที่ต่างกันไม่มีความสัมพันธ์กับระดับเจตกติที่มี ต่อการประเมินผลการปฏิบัติงาน (3) ปัจจัยด้านความรู้ความเข้าใจในการประเมินผลการปฏิบัติงาน ที่ต่างกันไม่มีความสัมพันธ์ต่อเจตคติที่มีต่อการประเมินผลการปฏิบัติงาน (4) ข้อเสนอแนะจาก ผู้ตอบแบบสอบถาม ร้อยละ 25.0 ต้องการให้ระบบการประเมินเป็นรูปธรรม ร้อยละ 19.8 ต้องการ ให้ระบบการประเมินมีความยุติธรรม และร้อยละ 17.1 ต้องการให้ผู้บังคับบัญชาแจ้งผลการประเมิน ให้ผู้ถูกประเมินทราบด้วยth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceReformated digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย--พนักงานth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจ.th_TH
dc.titleเจตคติของผู้ปฏิบัติงานที่มีต่อการประเมินผลการปฏิบัติงาน : กรณีศึกษาการไฟ้ฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย สายงานรองผู้ว่าการบริหารth_TH
dc.title.alternativeEmployee's attitude towards performance appraisal : a case study of the electricity generating authority of Thailand-Deputy Governor-Administrativeen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
112495.pdf3.67 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons