Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8467
Title: | กลยุทธ์การตลาดของธนาคารออมสิน |
Other Titles: | Marketing strategies of the government savings bank |
Authors: | ปรีชา ศรีศักดิ์หิรัญ วรรณพร อิศริวรรณ, 2518- มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ |
Keywords: | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณี มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณี ธนาคารออมสิน--การบริหาร การศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจ การตลาด |
Issue Date: | 2550 |
Publisher: | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช |
Abstract: | การศึกษากลยุทธ์การตลาดของธนาคารออมสิน มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาถึงกลยุทธ์ทางการตลาดของธนาคารออมสิน (2) เพื่อเป็นแนวทางในการปรับปรุง พัฒนาการกลยุทธ์ทางการตลาดของธนาคารออมสิน ให้สามารถตอบสนองความต้องการของผู้ใช้บริการอย่างเหมาะสมงานวิจันี้เป็นการวิเคราะห์เชิงพรรณนา ใช้ข้อมูลทุติภูมิ ได้จากรายงานของธนาคารออมสินและเอกสารการวิจัยที่เกี่ยวข้อง นำมาวิเคราะห์เชิงพรรณนาเกี่ยวกับ ปัจจัยภายนอก ปัจจัยภายใน ที่มีผลต่อการดำเนินงานของธนาคารออมสิน วิเคราะห์หางุดเข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรดในการดำเนินงานของธนาการออมสิน วิเคราะห์กลยุทธ์การตลาดของธนาคารออมสิน ผลการคำเนินงานของธนาคารออมสินเปรียบเทียบกับระบบธนาศารพาณิชย์ ซึ่งประกอบด้วยธนาคารพาณิชย์ขนาดใหญ่ คือ ธนาการกรุงไทย ธนาคารไทยพาณิชย์ ธนาคารทหารไทย ธนาการกสิกรไทยธนาคารกรุงศรีอยุธยา และธนาคารกรุงเทพ ผลการศึกษาพบว่า (1)กลยุทธ์ทางการตลาดของธนาคารออมสิน กลยุทธ์ด้านผลิตภัณฑ์เงินฝากธนาคารออมสินคือ มีผลิตภัณฑ์เงินฝากที่แตกต่าง เช่น สลากออมสินพิเศษ เงินฝากสงเคราะห์ชีวิต ด้านผลิตภัณฑ์สินเชื่อมีจุดแข็งคือสินเชื่อบุคคลและสินเชื่อรายย่อยที่มีฐานลูกค้าจำนวนมากและมีคู่แข่งน้อย กลยุทธ์ด้านรากา พบว่าอัตราดอกเบี้ยเงินฝาก อัตราดอกเบี้ยเงินกู้ และอัตราค่าธรรมเนียมบริการโดยเฉลี่ยต่ำกว่าผู้ให้บริการราชอื่น กลยุทธ์ด้านการจัดจำหน่าย พบว่าในเขตกรุงเทพฯและปริมณฑลมีสาขาให้บริการน้อย แต่ต่างจังหวัดมีสาขาจำนวนมาก กลยุทธ์ด้านการส่งเสริมการตลาด ใช้กลยุทธ์การแจกของสมนาคุณ การประชาสัมพันธ์กระตุ้นให้ลูกค้าเกิดความต้องการใช้บริการมากขึ้น (2) แนวทางในการปรับปรุงพัฒนากลยุทธ์ทางการตลาด กลยุทธ์ที่จะรักษาฐานลูกค้าเงินฝากที่ได้ผลคือการใช้กลยุทธ์ค้านราคา คืออัตราดอกเบี้ยสูง ระยะเวลาฝากเงินไม่ขาว ค้านสินเชื่อให้ควรความสำคัญกับสินเชื่อที่ให้อัตราผลตอบแทนสูง คู่แข่งน้อย ควรขยายช่องทางการจัดจำหน่าย โดขการขยายสาขา เพิ่มจำนวนเครื่องATM การจัดทำแผนส่งเสริมการตลาดจัดทำสื่อโฆษณาประชาสัมพันธ์ ฌ จุดขาย และเข้าร่วมกิจกรรมทางการตลาคอย่างต่อเนื่อง |
URI: | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8467 |
Appears in Collections: | Manage-Independent study |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
119818.pdf | 4.19 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License