Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8484
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจีระ ประทีป,อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorมนันยา สุวรรณพุ่ม, 2522-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-08-06T05:18:02Z-
dc.date.available2023-08-06T05:18:02Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8484-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) วิเคราะห์การให้บริการผู้โดยสารของท่าอากาศยานลำปาง (2) เสนอแนวทางการพัฒนาการให้บริการผู้โดยสารของท่าอากาศยานลำปาง ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ ผู้โดยสารที่มาใช้บริการของท่าอากาศยานลำปาง จำนวน 3,874 คน และกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา คือ ผู้โดยสารที่มาใช้บริการของท่าอากาศยานลำปาง จำนวน 363 คน โดยใช้ วิธีการกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างของ ทาโร่ ยามาเน่ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม และแบบ สัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง จำนวน 10 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษา พบว่า (1) ระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับการให้บริการผู้โดยสารของท่าอากาศยานลำปาง มีความคิดเห็นระดับเห็นด้วยมากทั้ง 4 ด้าน โดยรายการที่มีระดับค่าเฉลี่ยสูงสุด ด้านกระบวนการให้บริการ คือ การบริการตรวจค้นผู้โดยสารเพื่อตรวจหาอาวุธและวัตถุอันตรายก่อนขึ้นเครื่องบินมีขั้นตอนการให้บริการที่ สะดวกรวดเร็ว ด้านเจ้าหน้าที่ คือ เจ้าหน้าที่ตรวจอาวุธและวัตถุอันตรายเอาใจใส่ในการปฏิบัติงาน สุภาพ อ่อน น้อม และมีอัธยาศัยดี ด้านสิ่งอำนวยความสะดวก คือ สถานที่ตั้งของท่าอากาศยานลำปางมีความสะดวกในการเดินทางมารับบริการ และด้านผลการให้บริการโดยรวม มีความพึงพอใจโดยภาพรวมที่ได้รับจากการให้บริการของท่าอากาศยานลำปาง (2) แนวทางการพัฒนาการให้บริการผู้โดยสารของท่าอากาศยานลำปาง พบว่า ด้าน กระบวนการให้บริการ ควรมีการประชาสัมพันธ์เผยแพร่ข้อมูล ข่าวสาร ข้อปฏิบัติในการให้บริการแก่ผู้โดยสาร มากยิงขึ้น ด้านเจ้าหน้าที่ ควรมีการฝึกอปรมอย่างต่อเนื่องเพื่อให้เจ้าหน้าที่มีความรู้ ความสามารถในการให้บริการ สามารถอธิบาย ตอบข้อสงสัย และช่วยแก้ปัญหาให้แก่ผู้โดยสารได้ ด้านสิ่งอำนวยความสะดวก ควรมีการปรับปรุงพื้นที่บริเวณลานจอดรถยนต์ให้มีเพียงพอต่อความต้องการใช้บริการ มีความสะอาด เรียบร้อยและปลอดภัยมากยิงขึ้น และจัดให้มีสิ่งอำนวยความสะดวกที่จำเป็นเพิ่มเติม เช่น ตู้กดเงินสดอัตโนมัติ บริการรับฝากรถ และบริการรับฝากกระเป๋าเป็นต้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectท่าอากาศยานลำปาง--การจัดการth_TH
dc.titleการพัฒนาการให้บริการผู้โดยสารของท่าอากาศยานลำปางth_TH
dc.title.alternativeDevelopment of passenger services at Lampang Airporten_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research aimed to (1) analyze passenger services delivered to passengers at Lampang airport and (2) propose the appropriate approaches to develop the services delivered to passengers at Lampang airport. Population comprised 3,874 passengers using the services at Lampang airport, from which samples of 363 were obtained via Yamane calculation. Instruments used were questionnaire and interview; the latter was applied with 10 samples. Statistical tools employed were percentage, mean and standard deviation. Research result revealed that (1) the samples’ opinions on services received were at high level in all 4 aspects, with the highest mean on service process particularly activity on searching passengers for weapons and dangerous objects before boarding, which was performed in a short time, secondly: on security screener, who performed with politeness and attentive manner; thirdly, the facility: the location of Lampang airport was easily accessible; and lastly: in the overall view, the passengers were satisfied with the services received at Lampang airport (2) as for the approaches to develop the airport passenger services: there should be more public relations on services provided to passengers together with airport news and information involved, airport officials should be trained continuously so to increase their service capability and knowledge, which would lead to their ability to respond better to passengers’ request and to solve their problems in more appropriate ways, lastly, the facility particularly car park area should be improved; so there would be adequate space, with more safety and cleanliness, moreover more necessary facilities should be installed such as automatic teller machine, parking service, and baggage serviceen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
fulltext_144747.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.34 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons