Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8486
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธัญญรัศม์ วศวรรณวัฒน์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorศิยาภรณ์ นิลชำนาญ, 2513-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-08-06T05:25:56Z-
dc.date.available2023-08-06T05:25:56Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8486-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาแนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับการ จัดการคุณภาพโดยรวม โดยนำวงจร PDCA (Pian - Do - Check - Action) มาประยุกต์ใช้กับ กระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบภายใน และ (2) ศึกษาความคิดเห็นของผู้ตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยของรัฐ เกี่ยวกับการจัดการคุณภาพโดยรวมของการตรวจสอบภายใน วิธีการศึกษา ศึกษาข้อมูลทุติยภูมิเกี่ยวกับ แนวคิด ทฤษฎีการจัดการคุณภาพโดยรวม ของนักวิชาการค้ำนคุณภาพ จากเอกสาร ตำราวิชาการและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องทั้งในประเทศเละ ต่างประเทศ และศึกษาข้อมูลปฐมภูมิจากประชากรซึ่งเป็นผู้ตรวจสอบภายใน มหาวิทยาลัยของรัฐ 24 แห่ง จำนวน เรร ราย ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยส่งแบบสอบถาม ทางไปรษณีย์ ในช่วงเดือนพฤศจิกายน 2550 ได้รับกลับคืนมาจำนวน 122 ฉบับ คิดเป็นร้อยละ 78.71 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ด่วามถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษา พบว่า 1) วงจร PDCA เป็นเครื่องมือการบริหารงานสมัยใหม่ที่มีหลักการ บริหารเพื่อปรับปรุงงานอย่างต่อเนื่อง ซึ่งสามารถประยุกต์ใช้กับกระบวนการปฏิบัติงานตรวจสอบ ภายใน ได้ดังนี้ P (Plan) คือ การวางแผน โดยกำหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่ต้องการบรรลุให้ ชัดเจน D (D0)คือ การปฏิบัติงาน โดยลงมือปฏิบัติงานตามแผนงานที่กำหนดไว้ มีการตรวจสอบเอกสาร หลักฐานที่เกี่ยวช้องและบันทึกผลการตรวจสอบลงในกระดาบทำการ มีการส์อบท่านโดยหัวหน้าทีม ตรวจสอบและจัดทำรายงานผลการตรวจสอบ C (Check) คือ การตรวจสอบเพื่อประเมินผลการปฏิบัติงาน ตรวจสอบภายในตามแผนและประเมินผลสำเร็งของงานโดยเปรียบเทียบผลการปฏิบัติงานจริงกับแผนงานที่ กำหนดไว้ และ A (Action) คือ การปรับปรุง แก้ไขปัญหาอุปสรรดที่ทำให้กระบวนการปฏิบัติงาน ตรวจสอบภายในไม่เป็นไปตามแผน พร้อมทั้งจัดทำมาตรฐานการตรวจสอบภายใน เพื่อเป็นแนว ทางการปฏิบัติต่อไป 2) ความคิดเห็นของผู้ตรวจสอบภายในเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพโดยรวมของ การตรวจสอบภายใน มีความเห็นด้วยในระดับมากทุกด้านth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceReformated digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยและวิทยาลัยth_TH
dc.subjectการตรวจสอบภายในth_TH
dc.subjectการบริหารงานคุณภาพเบ็ดเสร็จth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleแนวทางการจัดการคุณภาพโดยรวมของการตรวจสอบภายใน : กรณีศึกษาการตรวจสอบภายในมหาวิทยาลัยของรัฐth_TH
dc.title.alternativeTotal quality management guideline for internal auditing : a case study of the internal auditing in the State Universitiesen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
112992.pdf5.72 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons