Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8498
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุวีณา ตั่งโพธิสุวรรณ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorสมศักดิ์ ศิวะไพบูลย์, 2505-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-08-06T09:36:33Z-
dc.date.available2023-08-06T09:36:33Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8498-
dc.description.abstractการศึกบาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) การพัฒนารูปแบบและขั้นตอนการนำระบบ Balanced Scorecard ใช้ในการจัดการองค์กร สำหรับเป็นเครื่องมือการประเมินผลการดำเนินงานขององค์กร ผู้บริหาร และ พนักงาน ในแต่ละระดับ (2) เปรียบเที่ยบวิธีการจัดการก่อนและหลังที่องค์กรนำระบบ Balanced Scorecard มาใช้ ในการจัดการองค์กร และผลสำร็จที่เกิดจาการนำระบบ Balanced Scorecard ไปสู่การปฏิบัติ ประชากรที่ใช้ศึกษาในครั้งนี้คือ พนักงานของบริษัท ท่าเรือประจวบ จำกัด จำนวน 83 คน ซึ่งใช้ วิธีการรวบรวมข้อมูลจากแหล่งปฐมภูมิและทุติยภูมิมาสังเคราะห์ โดยการจัดประชุมทุกเดือนระหว่างผู้บริหารและพนักงาน ของบริษัท ท่รือประจวบ งำกัคเพื่อกำหนดตัวชี้วัคคัวระบบการวัคผล Balanced Scorecard และทำการเก็บข้อมูลตาม ตัวขี้วัดที่ได้กำหนดขึ้น เพื่อวัดและประเมินผลองค์กร แล้วรายงานผลเป็นรายไตรมาสและวันสิ้นปีปฏิทิน วิธีการ วิเคราะห์ข้อมูลใช้วิชีวิเคราะห์เชิงคุณภาพและเชิงพรรณนา ผลการศึกขา พบว่า (1) การพัฒนารูปแบบโดยการกำหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมายขององค์กร ร่วมกันจากข้อมูลแหล่งปฐมภูมิ นำมาจัดทำเป็น แผนที่กลยุทธ์ มีขั้นต ตอนตั้งแต่การวิเคราะห์องค์กร การสร้าง วิสัยทัศน์ ภารกิจ กลยุทธ์ขององค์กรที่มีปัจจัยต่อความสำเร็จและสร้างดั คัชนีขี้วัด ความสำเร็จตาม ระบบ Balanced ad มาใช้ในการประเมินผลการดำเนินงานขององค์กรทั้งผู้บริหารและพนักงานในแต่ละระดับ วิธีการ จัดการก่อนนำระบบ Balanced Scor มาใช้โดยมุ่งเน้นเฉพาะผลการดำเนินงานรวมขององค์กรและไม่มีการ ประเมินผลย่อยในแต่ละระดับอย่างชัดเจนทำให้ไม่สามารถพัฒนาองค์กรให้เติบโตในระยะขาว (2) ข้งมูลทุติยภูมิ จากแผนพัฒนาธุรกิจและจากแนวทางการพัฒนาระบบ Balanced Scorecard มาใช้ใด้มีการกำหนดตัวชี้วัคตาม ระบบวัดผล Balanced Sco เพื่อใช้ในการประเมินผลการคำเนินงานของแต่ละระดับ ซึ่งประกอบด้วย ตัวชี้วัดใน 4 มุมมอง ได้แก่ มุมมองด้านการเงิน ด้านลูกค้า ค้านกระบวนการภายใน และค้านการเรียนรู้และการ พัฒนา ทำให้การดำเนินงานขององค์กรมีคุณภาพ สามารถ ควบคุมต้นทุนและ ะผลดำเนินงาน โดยมีการประเมินผล ที่ชัดเจนและเป็นรูปธรรม และ ผลสำเร็จของการนำระบบ Balanced Scorec card ไปสู่การปฏิบัติคือ บุคลากรมื เป้าหมายร่วมกันมากขึ้น มีการพัฒนาความสามารถและมีการกำหนดเป้าหมายในแต่ละด้านอย่างมีเหตุผล มีการ ประเมินค่าตอบแทนแบบมีเงื่อนไขโคยอิงจากผลงานที่ทำได้จริงและมุ่งเน้นต่อสิ่งที่มีความสำคัญ ต่อความสำเร็จขององค์กร การรวบรวมข้อมูลตามตัวชี้วัดที่กำหนดขึ้นและประเมินผลการคำเนินงาน ทำให้ต้นทุน การปฏิบัติงานลดลงเฉลี่ย 5 เปอร์เซ็นต์ และรายได้เพิ่มขึ้นเฉลี่ย 7 เปอร์เซ็นต์th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceReformated digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการประเมินผลงานth_TH
dc.subjectสัมฤทธิผลขององค์การth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleการพัฒนาระบบ balanced scorecard เพื่อการประเมินผลการปฏิบัติงานของบริษัทท่าเรือประจวบ จำกัดth_TH
dc.title.alternativehe development of balanced scorecard system for performance evaluation of Prachuap Port Company Limiteden_US
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
127189.pdf3.87 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons