Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/849
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | นิตยา เพ็ญศิรินภา | th_TH |
dc.contributor.author | นีรนุช โชติวรางกูล, 2506- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2022-08-20T07:35:00Z | - |
dc.date.available | 2022-08-20T07:35:00Z | - |
dc.date.issued | 2546 | - |
dc.identifier.uri | http://ir.stou.ac.th/handle/123456789/849 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ส.ม.(สาธารณสุขศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2546 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้วัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาปัจจัยด้านผู้ปฏิบัติงาน ปัจจัยสนับสนุนการจัดบริการและการดำาเนินงานการพัฒนาคุณภาพบริการบำบัดรักษายาเสพติดของโรงพยาบาล ในเขตตรวจราชการที่ 3 (2) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านผู้ปฏิบัติงานและปัจจัยสนับสนุนการจัดบริการ กับการดำเนินงานพัฒนาคุณภาพบริการบำบัดรักษายาเสพติดของโรงพยาบาล (3) เปรียบเทียบความแตกต่างของปัจจัยด้านผู้ปฏิบัติงานและปัจจัยสนับสนุนการจัดบริการ ระหว่างโรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไป กับโรงพยาบาลชุมชน (4) ศึกษาปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะของเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานบำบัดรักษายาเสพติด การวิจัยเป็นแบบสํารวจ รวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถามที่มีค่าความเที่ยง .988 ประชากรศึกษา คือ เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานบำบัดรักษายาเสพติดของโรงพยาบาลในเขตตรวจราชการที่ 3 ที่ตอบแบบสอบถามกลับจํานวน 77 คน จากเจ้าหน้าทั้งหมด 109 คน สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล คือ ร้อยละ ค่า เฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ไค-สแควร์และการทดสอบ แมนวิทนีย์ ยู ผลการวิจัยพบว่า (1) ปัจจัยด้านผู้ปฏิบัติงานด้านการรับรู้บทบาทหน้าที่ ความพึงพอใจในงานโดยรวม และปัจจัยสนับสนุนการจัดบริการอยู่ในระดับมาก ส่วนการดำเนินงานพัฒนาคุณภาพบริการบำบัดรักษายาเสพติดโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง (2) พบความสัมพันธ์อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติในทางบวก ระหว่างปัจจัยด้านผู้ปฏิบัติงาน ในด้านการรับรู้บทบาทหน้าที่และความพึงพอใจในงาน และ ปัจจัยสนับสนุนการจัดบริการ กับการดำเนินงานพัฒนาคุณภาพบริการบำบัดรักษายาเสพติด พบความแตกต่างอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ ของปัจจัยสนับสนุนการจัดบริการระหว่างโรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไป กับโรงพยาบาลชุมชน โดยโรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไป มีปัจจัยสนับสนุนการจัดบริการในระดับดีกว่าโรงพยาบาลชุมชน (4) ปัญหาอุปสรรค ข้อเสนอแนะส่วนใหญ่ คือ เจ้าหน้าที่ต้องปฏิบัติงานหลายด้าน การขาดทักษะและประสบการณ์ เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานจริงไม่เพียงพอ ปัญหาด้านสถานที่ และผู้บริหารมีบทบาทสำคัญต่อการพัฒนาคุณภาพงานยาเสพติด | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | th_TH |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.relation.uri | https://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2003.282 | - |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Reformatted digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | บุคลากรทางการแพทย์ | th_TH |
dc.subject | การติดยาเสพติด | th_TH |
dc.subject | โรงพยาบาล--การรับรองคุณภาพ | th_TH |
dc.title | ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาและรับรองคุณภาพด้านการบำบัดรักษายาเสพติดของโรงพยาบาลในเขตตรวจราชการที่ 3 | th_TH |
dc.title.alternative | Factors associated with the improvement and accreditation ot treatment quality for drugs abuse by hospitals in the 3 rd health inspection region | th_TH |
dc.type | Thesis | th_TH |
dc.identifier.DOI | 10.14457/STOU.the.2003.282 | - |
dc.degree.name | สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research were (1) to study factors regarding the practitioner, the supports for services and the quality improvement of the treatment of drugs abuse services of hospitals in the Health Inspection Region: (2) to examine relationships between the practitioner factors, the supportive factors for services and the quality service improvement of therapeutic drugs abuse of the hospitals; (3) to compare the differences of the practitioner and the supportive factors between the regional and general hospitals, and the community hospitals; (4) to study the obstacles and suggestions of health personnel who provided the services. This survey research used questionnaires with reliability of .9887 for collecting data. The study subjects who returned the questionnaires included 77 health personnel from the total of 109 who provided the treatment of drugs abuse services in the hospitals in the 3“ Health Inspection Region. Data were analyzed by using percentage, mean, standard deviation, Pearson Product Moment Correlation Coefficient, Chi - Square and Mann-Whitney test. The findings were as follows: (1) The practitioner factors regarding the role perception and the overall job satisfaction, and the supportive factors for services were at high level; the overall quality improvement of the treatment of drugs abuse services was at moderate level. (2) Significant positive relationships were found between the practitioner factors, regarding the role perception and the job satisfaction, the supportive factors and the implementation of quality services for drugs abuse. (3) Significant differences of the supportive factors for services were found between the regional and general hospitals, and the community hospitals, where the regional and general hospitals had higher supportive factors than the community hospitals. (4) Major obstacles and recommendations were various kinds of workload; insufficiency of skills, experiences and actual number of personnel, problem concerning physical space for services, and the administrators had an important role for the quality service improvement | en_US |
dc.contributor.coadvisor | คนองยุทธ กาญจนกูล | th_TH |
Appears in Collections: | Health-Theses |
This item is licensed under a Creative Commons License