Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8521
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุพักตร์ พิบูลย์th_TH
dc.contributor.authorจารุวรรณ กุศลการณ์, 2522-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-08-07T00:50:08Z-
dc.date.available2023-08-07T00:50:08Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8521en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การวัดและประเมินผลการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2554th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแบบสอบวินิจฉัยในการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ และเพื่อตรวจสอบคุณภาพในด้านความเที่ยง ความตรงตามเกณฑ์สัมพันธ์ และความตรงตามเนื้อหา เรื่อง พื้นที่ผิวและปริมาตร สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 โรงเรียนชลประทานวิทยา จังหวัด นนทบุรี กลุ่มตัวอย่างได้จากการสุ่มแบบหลายขั้นตอน แบ่งออกเป็น 4 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มที่ 1 เป็น กลุ่มตัวอย่างที่ใช้สำหรับทดสอบย่อยตามจุดประสงค์เพื่อรวบรวมลักษณะความผิดที่นักเรียนมัก ตอบบ่อย ๆ กลุ่มที่ 2 เป็นกลุ่มตัวอย่างที่ใช้เพื่อตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือครั้งที่ 1 (ทดสอบค่า ความยาก และค่าอำนาจจำแนก) กลุ่มที่ 3 เป็นกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือครั้ง ที่ 2 (ทดสอบค่าความเที่ยง และค่าความคาดเคลื่อนมาตรฐานของการวัด) กลุ่มที่ 4 เป็นกลุ่มตัวอย่าง ที่ใช้หาคุณภาพของแบบสอบวินิจฉัย ได้แก่ ค่าความเที่ยง ค่าความตรงตามเกณฑ์สัมพันธ์ และค่า ความตรงตามเนื้อหา ผลการวิจัย พบว่า จากการทดสอบเพื่อหาคุณภาพของแบบสอบทั้ง 2 ฉบับ มีค่าความ ยากอยู่ระหว่าง .66 - .79 และค่าอำนาจจำแนกอยู่ระหว่าง .36 -.96 ค่าความเที่ยงแบบสอบฉบับที่ 1 มีความเที่ยง .966 ความคลาดเคลื่อนมาตรฐานของการวัด .129 ค่าความตรงตามเกณฑ์สัมพันธ์ .694 และ ฉบับที่ 2 มีความเที่ยง 0.812 ความคลาดเคลื่อนมาตรฐานของการวัด 0.032 ค่าความตรงตาม เกณฑ์สัมพันธ์ .625 ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และค่าความตรงตามเนื้อหาซึ่งพบว่า สอดคล้องระหว่างจุดประสงค์การเรียนรู้กับข้อสอบแบบวินิจฉัย ทั้ง 2 ฉบับ มีค่า .80 – 1.00 ใน ด้านคะแนนจุดตัดของแบบสอบวินิจฉัยทั้ง 2 ฉบับ เท่ากับ 40 และ 39 ตามลำดับth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2011.286ีีen_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการวัดและประเมินผลการศึกษา--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectคณิตศาสตร์--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)--ไทย--นนทบุรีth_TH
dc.titleการพัฒนาแบบสอบวินิจฉัยวิชาคณิตศาสตร์เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนชลประทานวิทยา จังหวัดนนทบุรีth_TH
dc.title.alternativeDevelopment of a mathematics diagnostic test on the topic of surface area and volume for Mathayom Suksa III students of Cholapratan Witthaya School in Nonthaburi Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to develop diagnostic tests on mathematics topics of Surface Area and Volume for Mathayom Suksa III students in Cholapratan Witthawa School in Nonthaburi province, and to verify their quality in terms of reliability, criterion-related validity, and content validity. The research sample, obtained by multi-stage sampling, comprised four groups. The first group was the group employed for sub-testing based on learning objectives in order to identify often found mistakes. The second group was the group employed for the first quality verification (difficulty indices and discrimination indices). The third group was the group employed for the second quality verification (reliability and standard error of measurement). The fourth group was the group employed for quality verification of the whole diagnostic tests, i.e., reliability, criterion-related validity, and content validity. The research findings indicated that from quality verification of the two developed diagnostic tests, their difficulty indices ranged from .66 - .79, and their discrimination indices ranged from .36 - .96. As for quality of the whole test, the first test had reliability coefficient of .966, standard error of measurement of .129, and criterion-related validity of .694 which was statistically significant at the .05 level. The second test had reliability coefficient of 0.812, standard error of measurement of 0.032, and criterion-related validity of .625 which was statistically significant at the .05 level. As for content validity of the two tests, the index of item-objective congruency (IOC) ranged from .80 – 1.00. Also, the cut-off scores for the two tests were 40 and 39 respectively.en_US
dc.contributor.coadvisorนลินี ณ นครth_TH
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
128801.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.58 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons