Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8527
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิกรณ์ รักษ์ปวงชน, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorคณิตรา พยัคกุล, 2529-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-08-07T03:45:06Z-
dc.date.available2023-08-07T03:45:06Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8527-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระ เรื่อง การเพิ่มประสิทธิภาพการตรวจสอบทรัพย์สินและหนี้สินใน การป้องกันปัญหาการขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนบุคคลและประโยชน์ส่วนรวมมีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับการตรวจสอบทรัพย์สินและการขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วน บุคคลและประโยชน์ส่วนรวม การเปรียบเทียบกระบวนการตรวจสอบทรัพย์สินและหนี้สินของ ไทยกับต่างประเทศการวิเคราะห์ปัญหาการตรวจสอบทรัพย์สินและหนี้สินในการป้องกันความขัดแย้งกันระหว่างประโยชน์ส่วนบุคคลและประโยชน์ส่วนรวม และการกำหนดหลักเกณฑ์หรือวิธีการตรวจสอบทรัพย์สิ น และหนี้สินให้มีประสิทธิภาพและปรับปรุงแก้ไขเพิ่ม เติม พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ในอันที่จะเป็นประโยชน์ในการแก้ไขปัญหาคอร์รัปชั้น การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณ ภาพด้วยวิธี การวิจัยทางเอกสาร จากหนังสือ ตำรา เอกสารทางวิชาการ วิทยานิพนธ์ บทความ วารสาร ตัวบทกฎหมาย ข้อมูลจากสื่อ อิเล็กทรอนิกส์ คำพิพากษาของศาลปกครองสูงสุด ความเห็นคณะกรรมการกฤษฎีกา และเอกสาร อื่นที่เกี่ยวข้อง ผลการศึกษาพบว่ากระบวนการตรวจสอบทรัพย์สิน และหนี้สินไม่มีประสิทธิภาพ เพียงพอในการป้องกันปัญหาการขัดแย้งกันระหว่างประโยชน์ส่วนบุคคลและประโยชน์ส่วนรวม เนื่องจากพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ ไม่มีบทบัญญัติกำหนดให้ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองและเจ้าหน้าที่ของรัฐ แจ้งข้อมูลเกี่ยวกับ กิจการหรือธุรกิจใด ๆ หรือหุ้นส่วนในกิจการหรือนิติบุคคลใด ก่อนเข้ารับตำแหน่งจึงเป็นช่องว่างของกฎหมายที่ผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองและเจ้าหน้าที่ของรัฐ นำกิจการหรือธุรกิจดังกล่าวไปใช้ แสวงหาผลประโยชน์ในทางที่มิชอบ จึงควรมีการกำหนดหลักเกณฑ์หรือวิธีการตรวจสอบ ทรัพย์สินและหนี้สินให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectการขัดกันแห่งผลประโยชน์th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรมth_TH
dc.titleการเพิ่มประสิทธิภาพการตรวจสอบทรัพย์สินและหนี้สินในการป้องกันปัญหาการขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนบุคคลและประโยชน์ส่วนรวมth_TH
dc.title.alternativeIncreasing efficiency of the asset and liability examination to prevent conflicts between personal and public interestsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe Independent Study titled Increasing efficiency of the asset and liability examination to prevent conflicts between personal and public interests was purposed to study the concepts that related to the asset and liability examination to prevent conflicts between personal and public interests, to study and compare the process of the asset and liability examination in Thailand and other countries, to analyze the problems of the asset and liability examination to prevent conflicts between personal and public interests and determine the criteria or methods of the asset and liability examination to be effective and to amend the Constitution Act on Prevention and Suppression of Corruption B.E. 2542, which would be useful in resolving the problem of corruption. This independent study is a qualitative research by documentary research by books, textbooks, dissertations, articles, journals, legal documents, information from electronic media, Judgment of the Supreme Administrative Court, opinion of the State Council and other related documents. The study result is found that process of the asset and liability examination was not effective to prevent conflicts between personal and public interests caused the Constitution Act on National Counter Corruption has no provision for the political obligatory and the state officer to inform about any entrepreneur or business or juristic persons before serve such position therefore it is a gap of law that the political obligatory and the state officer take such enterprise or business to exploit in the wrong way. It should be established the rules or methods to examine the assets and liabilities to be more effectiveen_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_157827.pdfเอกสารฉบับเต็ม10.4 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons