Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8528
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพนมพัทธ์ สมิตานนท์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorจิรัฏฐ์ ดิฐวัฒนบูลย์-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-08-07T03:49:05Z-
dc.date.available2023-08-07T03:49:05Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8528-
dc.description.abstractการศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ระดับประสิทธิภาพของการบริการจ่ายเงินเบี้ยยัง ชีพของเทศบาลตําบลแปลงยาว จังหวัดฉะเชิงเทรา (2) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อประสิทธิภาพของการบริการ จ่ายเงินเบี้ยยังชีพของเทศบาลตําบลแปลงยาว จังหวัดฉะเชิงเทรา (3) ปัญหาและอุปสรรคในการให้บริการจ่ายเงิน เบี้ยยังชีพของเทศบาลตําบลแปลงยาว จังหวัดฉะเชิงเทรา การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ประชากรที่ใช้ในการศึกษาคือผู้สูงอายุ ที่ได้รับเงินเบี้ยยัง ชีพที่อาศัยอยู่ในเขตพื้นที่ตําบลแปลงยาวอําเภอแปลงยาว จังหวัดฉะเชิงเทรา จํานวน 743คน คํานวณหากลุ่ม ตัวอย่างโดยใช้สูตรทาโร่ ยามาเน่ ได้กลุ่มตัวอย่าง 260 คน โดยใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบสัดส่วน ใช้แบบสอบถาม เป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน เป็นสถิติการทดสอบแบบสองทาง ผลการศึกษาพบว่า (1) ระดับประสิทธิภาพในการจ่ายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุของเทศบาล ตําบล แปลงยาว อําเภอแปลงยาว จังหวัดฉะเชิงเทรา ภาพรวมอยู่ในระดับมาก ได้แก่ หลักความรับผิดชอบมีค่าเฉลี่ย อยู่ในระดับมากที่สุด หลักการเปิดเผย หลักการตอบสนอง หลักประสิทธิภาพ และหลักการมีส่วนร่วมอยู่ในระดับ มาก ระดับประสิทธิภาพในการดําเนินงานในการจ่ายเงินเบี้ยยังชีพของเทศบาลตําบลแปลงยาว โดยสรุปในภาพ รวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า มิติด้านการเรียนรู้และพัฒนาอยู่ในระดับมากที่สุด รองลงมาคือ มิติด้านกระบวนการภายใน ด้านลูกค้า และด้านการเงิน (2) ปัจจัยในการปฏิบัติงานโดยรวมมี ความสัมพันธ์กับประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน โดยมีความสัมพันธ์กันในระดับสูง (3) ปัญหาและอุปสรรคที่ พบ คือ ขั้นตอนการจ่ายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ มีความยุ่งยาก ซับซ้อน ผู้สูงอายุส่วนมากขาดความรู้ ความเข้าใจใน หลักเกณฑ์การจ่ายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ จากผลการศึกษา พบว่า ควรแก้ไขปัญหาและอุปสรรค โดยเพิ่ม ประสิทธิภาพในการให้บริการด้านต่าง ๆ ให้กับผู้สูงอายุ เช่น การลดขั้นตอนด้านต่าง ๆ ที่ไม่จําเป็นหรือซํ้าซ้อน ออกไป และอํานวยความสะดวกในด้านต่าง ๆ ให้กับผู้สูงอายุที่เข้ามารับบริการกับหน่วยงาน อีกทั้งผู้บริหารควร ให้ความสําคัญในปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติงานทุกด้านของบุคลากรต้องส่งเสริมบุคลากรทุกระดับได้มีโอกาส พัฒนาความรู้ ความสามารถและทักษะในการปฏิบัติงาน เช่น เข้ารับการอบรม สัมมนาในด้านต่าง ๆ เพื่อพัฒนา ศักยภาพของบุคลากรให้สูงยิ่งขึ้นth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ--ไทย--ฉะเชิงเทราth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อประสิทธิภาพในการให้บริการจ่ายเงินเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุของเทศบาลตำบลแปลงยาว จังหวัดฉะเชิงเทราth_TH
dc.title.alternativeFactors relating the efficiency of the service of paying the allowance to elderly in Plaeng Yao Municipality, Chachoengsao Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objective of this study are to study (1) The level of efficiency of the service of paying allowance to elderly at the Plaeng Yao Municipality, Chachoengsao Province, (2) Factors related to work efficiency of the service of paying the allowance to elderly at the Plaeng Yao Municipality, Chachoengsao Province, and (3) Problems and obstacles of the service of paying the allowance to elderly at the Plaeng Yao Municipality, Chachoengsao Province. This study is quantitative research. The populations are the elderly people who receive the allowances of life that live in the area of the Plaeng Yao municipality, Chachoengsao Province with total of 743 persons. The representative samples are determined under calculation using Taro Yamane’s Formula. The sample size is 260 persons and selected by using proportional sampling method. The instrument is questionnaire using for data collection data analyses including. Frequency, Percentage, Mean, Standard, Deviation, Pearson Product Moment, Correlation Analysis which is statistics of two-tailed test. The results indicate that (1) the level of efficiency of the Service of Paying the Allowance to Elderly in Plaeng Yao Municipality, Chachoengsao Province, is high in overall, including average of the principle of responsibility in maximum level, principle of Plaeng Yao Municipality disclosure, principle of response, principle of efficiency and principle of participation in high level. The operating efficiency level for living allowance payment of Plaeng Yao Municipality was conclusively moderate in overall. Upon considering on individual aspect, the finding indicated that learning and development dimension is in the highest level and internal process, customer and finance dimensions are in second; (2) overall operating factors are related to the operating efficiency and at high level, (3) the detected problem and obstacle are the complicated procedure of the elderly living allowance payment. Most of the elderly are lack of knowledge and understanding on payment criteria of the elderly living allowance. Results indicate that to solve the problems and obstacles by increase in efficiency of services for the elderly such as reducing unnecessary or redundant procedures, and facilitating various aspects to the elderly who enter to use service with the agency. In addition, the administrator should give precedence to factors affecting the operation of the personnel in every field and must promote the personnel in all levels to gain the opportunity of operating knowledge, competence and skill development such as attending trainings and seminars in various fields for more potential development of the personnelen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
156164.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.24 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons