Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8529
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเทพศักดิ์ บุณยรัตพันธุ์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorจุฑามาศ กุศลสร้าง-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-08-07T04:12:00Z-
dc.date.available2023-08-07T04:12:00Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8529-
dc.description.abstractการวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาความต้องการในการตัดสินใจคงอยู่ของ ข้าราชการกรมเจ้าท่า (2) ศึกษาปัจจัยต่าง ๆ ที่มีความสัมพันธ์กับการตัดสินใจคงอยู่ของข้าราชการ กรมเจ้าท่า (3) เสนอแนะแนวทางในการธำรงรักษาข้าราชการที่มีความรู้ความสามารถในกรมเจ้าท่า เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อองค์การ การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจที่เน้นการวิจัยเชิงปริมาณ และผสมผสานการ วิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่าง คือ ตัวแทนข้าราชการกรมเจ้าท่าได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 299 คน จากประชากรทั้งหมด 1,177 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างตามสูตรของ ทาโร ยามาเน่ เครื่องมือ ที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล เชิงปริมาณ ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และการทดสอบค่าที การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ ใช้วิธีการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า (1) ความต้องการในการตัดสินใจคงอยู่ของข้าราชการกรมเจ้าท่า มีมากกว่าร้อยละ 50 ณ ระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (2) ปัจจัยจากภายในกรมเจ้าท่า มีความสัมพันธ์กับการตัดสินใจคงอยู่ ของข้าราชการกรมเจ้าท่าในทิศทางเดียวกันความสัมพันธ์ อยู่ในระดับน้อยมาก อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 และปัจจัยดึงดูดจากภายนอกกรมเจ้าท่า มีความสัมพันธ์ กับแนวโน้มการตัดสินใจโอนย้ายของข้าราชการกรมเจ้าท่า ในทิศทางเดียวกัน ความสัมพันธ์อยู่ในระดับน้อย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 (3) แนวทางที่จะนำไปสู่ การธำรงรักษาข้าราชการที่มีความรู้ความสามารถให้คงอยู่กับกรมเจ้าท่าเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด ต่อองค์การ 10 ด้าน ดังนี้ ด้านการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคลากรในองค์การ ด้านลักษณะงาน ที่ ปฏิบัติด้าน การสร้างการยอมรับ จากสังคม ด้านการประเมินผลการปฏิบัติงาน ด้านความก้าวหน้า และความมั่นคงในหน้าที่การงาน ด้านระบบการบริหารงานด้านค่าตอบแทน และสวัสดิการ ด้านการสร้างความสมดุลระหว่างชีวิตการทำงานและชีวิตส่วนตัว ด้านการบริหาร ทรัพยากรบุคคล ด้านการสร้างบรรยากาศที่ดีในการทำงานth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectกรมเจ้าท่า--ข้าราชการและพนักงาน--การจูงใจ (จิตวิทยา)th_TH
dc.subjectการทำงาน--แง่จิตวิทยาth_TH
dc.subjectคุณภาพชีวิตการทำงานth_TH
dc.subjectสภาพแวดล้อมการทำงานth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการตัดสินใจคงอยู่ของข้าราชการกรมเจ้าท่าth_TH
dc.title.alternativeFactors correlating with decision in retention of the Marine Department Officerth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were to 1) study requirements for the decision of retention of Marine Department officials 2) explore factors related to the decision of retention of Marine Department officials 3) propose guidelines to retain the officials who were potential in the Marine Department for the highest benefit to the organization. This study was a survey research focusing on quantitative research and mixed with qualitative research. The 299 representatives of the Marine Department officials, from 1,177 people, were selected as samples. The sample size was determined based on Taro Yamane’ s formula. Tools used for data collecting were a questionnaire and an interview form. Statistics employed for quantitative data analysis were percentage, mean, standard deviation, Pearson's Correlation Coefficient, and t-test. The qualitative analysis was content analysis. The results showed that (1) percentage of the requirements for the decision of retention of Marine Department officials was more than 50 at the statistical significance level of 0.05, (2) the internal factors of the Marine Department related to the decision of retention of Marine Department officials had positive correlated at low level with the statistical significance level of 0.01, and the external attractive factors, were correlated with job transferring decision trend of Marine department officials at low level with statistical significance level of 0.01, (3) there were ten guidelines to retain the officials who had potential in the Marine Department for the highest benefit to the organization consisted of the interpersonal relationship in the organization, job characteristics, the creation of social acceptance, performance appraisal, career path and job security, managerial system, payment and welfare, work-life balance, human resource management and the creation of good environment in workplaceen_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
156167.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.26 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons