Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/852
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเยาวภา ติอัชสุวรรณ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorช่อทิพย์ บรมธนรัตน์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorนิพนธ์ พัฒนกิจเรือง, 2503--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-20T07:42:52Z-
dc.date.available2022-08-20T07:42:52Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/852-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ส.ม.(สาธารณสุขศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2552th_TH
dc.description.abstractการวิจัยนี้วัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ป่วยนอกเขตรับผิดชอบ (2) ศึกษาข้อมูลการใช้บริการ แผนกผู้ป่วยนอกของผู้ป่วยนอกเขตรับผิดชอบ (3) เปรียบเทียบความพึงพอใจของผู้ป่วยนอกเขตรับผิดชอบต่อการจัดบริการของสถานีอนามัย และของแผนกผู้ป่วยนอกของโรงพยาบาลเชียงคาน และ (4) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลส่วนบุคคล ข้อมูลการใช้บริการที่แผนกผู้ป่วยนอก และความพึงพอใจต่อการบริการของแผนกผู้ป่วยนอก การวิจัยใช้รูปแบบการสำรวจภาคตัดขวาง ประชากรคือผู้ป่วยนอกเขตรับผิดชอบที่มารับบริการที่แผนกผู้ป่วยนอกของโรงพยาบาลเชียงคาน โดยไม่ผ่านระบบการส่งต่อ ระหว่างเดือน มีนาคม ถึง พฤษภาคม 2553 จํานวน 10,832 คน ทําการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอนได้กลุ่มตัวอย่างที่ทำการศึกษา 394 คน เครื่องมือเป็นแบบสอบถามมีค่าความเที่ยงทั้งฉบับเท่ากับ 0.9171 และเก็บรวบรวมข้อมูล โดยผู้ช่วยผู้วิจัย การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณาการทดสอบไคสแควร์ สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน การทดสอบที ผลการวิจัยพบว่า (1) ผู้ป่วยนอกเขตรับผิดชอบที่มารับบริการที่แผนกผู้ป่วยนอกส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุ 41-60 ปี สถานภาพสมรส นับถือศาสนาพุทธ จบชั้นประถมศึกษา อาชีพเกษตรกรรม มีทั้งที่ไม่มีรายได้และที่มีรายได้ไม่เกิน 30,000 บาทต่อปี และมีสิทธิการรักษาพยาบาลตามบัตรประกันสุขภาพถ้วนหน้า (2) ผู้ป่วยนอกเขตรับผิดชอบส่วนใหญ่อาศัยอยู่ห่างจากโรงพยาบาลเชียงคาน โดยเฉลี่ย 16.4 กิโลเมตร ไม่มีโรคเรื้อรัง ประจําตัว มีความรุนแรงของการเจ็บป่วยปานกลาง ต้องการตรวจกับแพทย์และต้องการกลับมาใช้บริการที่โรงพยาบาลอีก (3) ผู้ป่วยมีความพึงพอใจมากต่อบริการที่แผนกผู้ป่วยนอกของโรงพยาบาลในด้านความปลอดภัยในการเดินทาง ประสิทธิภาพของการรักษาและความหลากหลายของบริการ ยาและเวชภัณฑ์ และมีความพึงพอใจมากที่สุดต่อบริการที่สถานีอนามัยในด้านความสะดวกสบายในการไปรับบริการ และ (4) ตัวแปร ระยะทางจากบ้านถึงโรงพยาบาล ความพึงพอใจในบริการ การมีโรคเรื้อรังประจําตัว มีความสัมพันธ์กับการมารับบริการที่แผนกผู้ป่วยนอกของโรงพยาบาล อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 ข้อเสนอแนะของการวิจัย คือ บริการรักษาพยาบาลช่องทางด่วนสําหรับรองรับผู้ป่วยนอกเขตรับผิดชอบ เพื่อลดความแออัดและระยะเวลารอคอย และเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการตรวจรักษาของแพทย์th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์ --วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectโรงพยาบาลเชียงคาน แผนกผู้ป่วยนอกth_TH
dc.subjectผู้ป่วยนอก--การดูแลth_TH
dc.subjectความพอใจของผู้ป่วยth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการมารับบริการของผู้ป่วยนอกเขตรับผิดชอบที่แผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลเชียงคาน จังหวัดเลยth_TH
dc.title.alternativeFactors associated with the service reception of the patients out of the responsible areas at the out-patient department of Chiangkhan Hospital, Loei Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to: (1) study personal data of the patients out of the responsible areas; (2) study data of service reception at the out-patient department (OPD) of the patients; (3) compare the patients’ satisfaction towards service provision at the health centers and the OPD, Chiang Khan Hospital; and (4) study relationship between personal data, data of service reception at the OPD of the patients and satisfaction towards service provision of the out-patient department. This cross-sectional survey research was conducted in the population of 10,832 patients out of the responsible areas who received services at the OPD, Chiang Khan Hospital, through non-referral system during March-May 2010. A total of 304 samples were selected by multi-stage randomization. The instrument employed in the study was an interview form with a reliability coefficient of 0.9471. Data collection was done by research assistants and analyzed as descriptive statistics, Chi-square test, Pearson Correlation Coefficients, and t-test. The research findings were that: (1) most patients were female, 41-60 Years old, married, Buddhists, having primary school education, farmers, both without and with annual income of below 30,000 baht, and having the right to have health care under the Universal Health Coverage; (2) most patients were?on average, 1.64 kilometers far from the hospital, had no chronic diseases, had moderate level of sickness, needed to have doctor’s investigation, and would like to have a healthcare service again; (3) patients had high satisfaction towards service from the OPD in terms of travel safety, healthcare efficiency, service/medication variety, and reported highest satisfaction towards services from the health centers in terms of convenience for service attendance; and (4) variables of distance from their residences to the hospital, service satisfaction, and having chronic diseases related to the service reception at the OPD with significantly statistical confident level of 95 %. Research suggestions were that rapid track of a healthcare service should be provided for the patients in order to alleviate congestion and waiting time, as well as increase efficiency of medical investigationen_US
Appears in Collections:Health-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
118386.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.55 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons