Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8530
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorภาวิน ชินะโชติth_TH
dc.contributor.authorสุดารัช ชัยศรีth_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-08-07T04:28:00Z-
dc.date.available2023-08-07T04:28:00Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8530en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับความคิดเห็นต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของพนักงานผู้ให้บริการทางการแพทย์และพยาบาลในโรงพยาบาลเอกชนขนาดใหญ่ในกรุงเทพมหานคร และ (2) เปรียบเทียบระดับความคิดเห็นของการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของผู้ให้บริการทางการแพทย์และพยาบาล จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล ประชากรที่ใช้ศึกษาในครั้งนี้ คือ พนักงานผู้ให้บริการทางการแพทย์และพยาบาลของโรงพยาบาลเอกชนขนาดใหญ่ในกรุงเทพมหานคร กำหนดกลุ่มประชากรแบบไม่ทราบจำนวน ประชากรที่แน่นอนตามวิธีการของคอแครน โดยกำหนดกลุ่มตัวอย่างจำนวน 400 คน โดยใช้เครื่องมือเป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าทีเพื่อทดสอบความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ยสองกลุ่มและการทดสอบค่าเอฟด้วยการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวเพื่อทดสอบความแตกต่างค่าเฉลี่ยตั้งแต่กลุ่มขึ้นไป และทดสอบความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ด้วยวิธีผลต่างนัยสำคัญน้อย ที่สุด โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูปในการวิเคราะห์ข้อมูล ผลการศึกษาพบว่า (1) ผู้ตอบแบบสอบถามมีความคิดเห็นต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า พนักงานผู้ให้บริการทางการแพทย์และพยาบาลมีให้ความสนใจในด้านการอบรม การพัฒนาและการศึกษา และ (2) ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นพนักงาน จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล พบว่า ปัจจัยส่วนบุคคลด้านอายุ ระดับการศึกษา ระยะเวลาในการปฏิบัติงานและอัตราเงินเดือนที่ได้รับแตกต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 ส่วนปัจจัยด้านเพศสถานภาพ ตำแหน่งงานต่างกันมีความคิดเห็นต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ไม่แตกต่างกันth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ--การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectทรัพยากรมนุษย์--การจัดการth_TH
dc.subjectบริการทางการแพทย์--ไทย--กรุงเทพฯth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของพนักงานผู้ให้บริการทางการแพทย์และพยาบาลของโรงพยาบาลเอกชนขนาดใหญ่ในกรุงเทพมหานครth_TH
dc.title.alternativeHuman resource development of medical and nursing service staffs in a large private hospital in Bangkok Metropolisen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe research has the objectives were: (1) to study of a level of Human Resource Development in a Medical and Nursing Service Staffs in a Large Private Hospital in Bangkok Metropolis; and (2) to compare a level of opinion of Medical and Nursing Service Staffs in a Large Private Hospital in Bangkok Metropolis in Bangkok classify by personal factor. The Sample was the medical and nursing service staffs in a large private hospital in Bangkok Metropolis. The sample group size classification employed W.G. Cochran method. Totally, there were 400 samples. The instrument used was a questionnaire. The statistical analysis employed frequency, percentage, mean and standard deviation. Analytics technics used to test the hypothesis are t-test statistics, F-test statistics, One-way ANOVA with Fisher’s Least Significant Difference Post Hoc Tests from using statistical package. The results of research were found as follows: (1) the respondents had an opinion toward the Human Resource Development at high. Considering in each aspect it was found that the Medical and Nursing Service Staff interested in training, development and education consecutively; and (2) comparing the level of opinion of the Medical and Nursing Service Staff, classified by personal factor, it was found that there were significant differences in age, education level, work timing and salary at the .05 level of significance. Whereas, there were no significant differences in gender, marital status and position.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
157855.pdfเอกสารฉบับเต็ม13.71 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons