Please use this identifier to cite or link to this item:
https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8546
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | จำลอง นักฟ้อน | th_TH |
dc.contributor.author | สุประวีณ์ อิสระมโนรส, 2513- | th_TH |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษา | th_TH |
dc.date.accessioned | 2023-08-07T08:00:57Z | - |
dc.date.available | 2023-08-07T08:00:57Z | - |
dc.date.issued | 2554 | - |
dc.identifier.uri | https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8546 | en_US |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (บริหารการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2554 | th_TH |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาระดับสมรรถนะทางการบริหารที่พึงประสงค์ของผู้อำนวยการศูนย์วิทยพัฒนามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (2) เปรียบเทียบสมรรถนะทางการบริหารที่พึงประสงค์ของผู้อำนวยการศูนย์วิทยพัฒนามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ตามความประสงค์ของกลุ่มตัวอย่าง จำแนกตามสังกัด และ (3) ศึกษาข้อเสนอแนะแนวทางในการเสริมสร้างสมรรถนะทางการบริหารที่พึงประสงค์ของผู้อำนวยการศูนย์วิทยพัฒนามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่บุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานของศูนย์วิทยพัฒนา ประกอบด้วยบุคลากรในส่วนกลาง จำนวน 173 คน ศูนย์วิทยพัฒนา จำนวน 39 คน และชมรมนักศึกษา จำนวน 31 คน รวม 243 คน ได้มาโดยการกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างตามตารางของเครจซีและมอร์แกนและใช้การสุ่มแบบโควต้า เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามแบบมาตรประมาณค่าที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น มีค่าความเที่ยงทั้งฉบับเท่ากับ .88 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และการเปรียบเทียบความแตกต่างเป็นรายคู่ ด้วยวิธีการของเชฟเฟ ผลการวิจัยพบว่า (1) ระดับสมรรถนะทางการบริหารที่พึงประสงค์ของผู้อำนวยการ ศูนย์วิทยพัฒนา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ทุกด้านในทัศนะของกลุ่มตัวอย่างมีความพึงประสงค์ ในภาพรวมในระดับมากที่สุด (2) กลุ่มตัวอย่างที่มีความประสงค์เกี่ยวกับสมรรถนะของผู้บริหารศูนย์วิทยพัฒนา ในภาพรวมไม่แตกต่างกัน ยกเว้นในสมรรถนะด้านมโนทัศน์ ด้านผู้นำและด้านคุณลักษณะส่วนบุคคล มีความประสงค์แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ (3) ข้อเสนอแนะแนวทางในการเสริมสร้างสมรรถนะทางการบริหารที่พึงประสงค์ของผู้อำนวยการศูนย์วิทยพัฒนา ที่สำคัญ ได้แก่การวางแผนการให้บริการ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกันภายในและภายนอกหน่วยงาน และการสร้างจิตสานึกรักการให้บริการแก่บุคลากร | th_TH |
dc.format | application/pdf | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.rights | Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) | en_US |
dc.rights.uri | https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/ | en_US |
dc.source | Born digital | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารการศึกษา--วิทยานิพนธ์ | th_TH |
dc.subject | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. ศูนย์วิทยพัฒนา--การบริหาร | th_TH |
dc.title | สมรรถนะทางการบริหารที่พึงประสงค์ของผู้อำนวยการศูนย์วิทยพัฒนามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.title.alternative | Desirable managerial competencies of regional distance education center directors of Sukhothai Thammathirat Open University | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต | th_TH |
dc.degree.level | ปริญญาโท | th_TH |
dc.degree.discipline | สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ | th_TH |
dc.degree.grantor | มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช | th_TH |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this study were (1) to study the level of desirable managerial competencies of regional distance education center directors of Sukhothai Thammathirat Open University; (2) to compare desirable managerial competencies of regional distance education center directors of Sukhothai Thammathirat Open University as classified by the perception of different groups in the sample; and (3) to study recommendations on guidelines for strengthening the desirable managerial competencies of regional distance education center directors of Sukhothai Thammathirat Open University. The research sample totaling 243 people concerned with the operation of regional distance education centers consisted of 173 personnel in the main campus, 39 personnel of regional distance education centers, and 39 students from student clubs, obtained by quota sampling. The sample size was determined based on Krejcie and Morgan’s Sample Size Table. The employed research tool was a rating scale questionnaire, developed by the researcher, with the total reliability coefficient of .88. Statistics for data analysis included the percentage, mean, standard deviation, one-way ANOVA and Scheffe' method for pair-wise comparison. Research findings indicated that (1) all aspects of desirable managerial competencies of regional distance education center directors of Sukhothai Thammathirat Open University, as perceived by the sample, were needed at the highest level; (2) no significant difference was found in the overall need for desirable managerial competencies of different groups of the sample; however, significant differences at the .05 level were found regarding the competencies of vision, leadership, and personal characteristics; and (3) the main recommendations on guidelines for strengthening desirable competencies of regional distance education center directors were the following: the planning for provision of services; the knowledge exchange among the personnel within and outside the organization; and the creation of the conscience for the love of service provision to the personnel. | en_US |
dc.contributor.coadvisor | วัลภา สบายยิ่ง | th_TH |
Appears in Collections: | Edu-Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
130168.pdf | เอกสารฉบับเต็ม | 4.45 MB | Adobe PDF | View/Open |
This item is licensed under a Creative Commons License