Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/855
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนิตยา เพ็ญศิรินภา, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorจิตตินันท์ เดชะคุปต์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorนิพรรณพร วรมงคล, 2496--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2022-08-20T07:49:47Z-
dc.date.available2022-08-20T07:49:47Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttp://ir.stou.ac.th/handle/123456789/855-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ส.ม.(สาธารณสุขศาสตร์))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2550th_TH
dc.description.abstractการวิจัยเชิงสำรวจนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ปัจจัยด้านผู้ดำเนินการ ปัจจัยด้าน กระบวนการบริหารจัดการ ปัจจัยด้านการสนับสนุนทรัพยากร และปัจจัยการมีส่วนร่วมของชุมชนในการดำเนินงานของศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่ (2) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยดังกล่าวกับความสำเร็จในการดำเนินงานของศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่ และ (3) ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะในการดำเนินงานเพื่อการพัฒนาเป็นศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่ กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ดำเนินการของศูนย์เด็กเล็ก ที่ผ่านเกณฑ์ศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่ทั้ง 3 ระดับ ได้แก่ ระดับดีมาก ระดับดี และพื้นฐาน จำนวน 358 แห่ง ที่ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิที่แบ่งเป็น 12 จังหวัดตามเขตของศูนย์อนามัย กระทรวงสาธารณสุข เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลเป็นแบบสอบถาม ที่มีค่าเฉลี่ยความเที่ยงเท่ากับ 0.95 ส่งแบบสอบถามทางไปรษณีย์ ได้รับกลับคืนจํานวน 310 ฉบับ คิดเป็นอัตราการตอบกลับร้อยละ 86.6 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบไคสแควร์ ผลการวิจัยพบว่า (1) ผู้ดำเนินการศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่ ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุเฉลี่ย 35.74 ปี จบการศึกษาระดับปริญญาตรี ร้อยละ 51 ประสบการณ์การทำงานเฉลี่ย 6.36 ปี การได้รับความรู้ในการดำเนินการและแรงจูงใจในการทำงานอยู่ในระดับมากถึงมากที่สุด ส่วนปัจจัยด้านกระบวนการบริหารจัดการ ปัจจัยด้านการสนับสนุนทรัพยากร และปัจจัยการมีส่วนร่วมของชุมชนได้รับการสนับสนุนในระดับปานกลางถึงมาก (2) ในด้านปัจจัยด้านผู้ดำเนินการ พบว่า อายุการได้รับความรู้ในการดำเนินงานและแรงจูงใจในการทำงานมีความสัมพันธ์กับความสำเร็จในการดำเนินงานศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนปัจจัยด้านกระบวนการบริหารจัดการปัจจัยด้านการสนับสนุนทรัพยากร และปัจจัยการมีส่วนร่วมของชุมชนมีความสัมพันธ์กับความสำเร็จในการดำเนินงานศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 และ (3) ปัญหาอุปสรรคที่พบส่วนใหญ่ได้แก่การขาดความรู้ งบประมาณไม่เพียงพอ รวมทั้งขาดการมีส่วนร่วมจากชุมชน ข้อเสนอแนะควรมีการเพิ่มพูนความรู้ให้แก่ผู้ปฏิบัติงาน ประสานภาคีเครือข่ายในชุมชน และส่งเสริมสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้ความสำคัญกับการลงทุนเพื่อเด็กth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาสาธารณสุขศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectศูนย์เด็กก่อนวัยเรียน--การบริหารth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความสำเร็จในการดำเนินงานศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่th_TH
dc.title.alternativeFactors related to the success of health child care center implementationth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this survey study were: (1) to identify the factors related to the operators, management process, resource support, and community participation in the implementation of healthy child care centers; (2) to find out the relationship between the aforementioned factors and the success in healthy child care center implementation; and (3) to identify the problems encountered in and suggestions for healthy child care center implementation. The study sample was the operators of 358 healthy child care centers with three levels of performance (very good, good and basic), selected by the stratified multistage random sampling method, in 12 provinces where Public Health Ministry’s regional health promotion centers are located. The data collection instrument was a questionnaire with the reliability level of 0.95. Of all 310 or 86.6% of sent questionnaires by mail were returned. The statistics used in data analyses were percentage, mean, standard deviation, and chi-square. The research findings showed that (1) most of respondents were female with an average age of 35.74 years; 51% were bachelor’s degree holders; they had an average of 6.36 years’ experience in working in child care centers; their receipt of knowledge and work motivation was at the high to highest levels, while the management process, resource support, and community participation were at the moderate to high levels; (2) concerning operators’ personal factors, the age and receipt of knowledge and motivation were significantly associated with the successful implementation of the healthy child care centers, at .05 level, whereas the factors related to process management, resource support, and community participation were also significantly associated with the successful operation at .001 level; and (3) the problems and obstacles encountered were mostly related to lack of knowledge, inadequate budget, and lack of community participation. It is thus recommended that efforts should be made to enhance personnel capacity, coordinate with community networks, and encourage local administrative organizations to invest for childrenen_US
Appears in Collections:Health-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
108770.pdfเอกสารฉบับเต็ม5.69 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons