Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8562
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorบริบูรณ์ ปิ่นประยงค์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorผาณิต พุกภูษา, 2532-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-08-08T01:55:07Z-
dc.date.available2023-08-08T01:55:07Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8562en_US
dc.description.abstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาพฤติกรรมของผู้บริโภคในการซื้อผลิตภัณฑ์เนื้อสุกรแปรรูปในเขตจังหวัดราชบุรี (2) ศึกษาปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด ที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมของผู้บริโภคในการซื้อผลิตภัณฑ์เนื้อสุกรแปรรูปในเขต จังหวัดราชบุรี (3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านประชากรศาสตร์กับปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด (4) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมของผู้บริโภคในการซื้อผลิตภัณฑ์เนื้อสุกรแปรรูปในเขตจังหวัดราชบุรี กับปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดประชากรที่ใช้ศึกษาคือ ผู้บริโภคในเขตจังหวัดราชบุรี ที่มีอายุ 20 ปีขึ้นไป โดยไม่ทราบจำนวนประชากรที่แน่นอน กำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างโดยการใช้หลักการของ Krejcie & Morgan (1970) ได้จำนวน 310 คน ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสอบถามสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของกลุ่มตัวอย่างโดยการหาค่าไคสแควร์ ผลการศึกษาพบว่า (1) พฤติกรรมของผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่นิยมซื้อผลิตภัณฑ์เนื้อสุกรแปรรูปที่ตลาดสด ความถี่ในการซื้อ 4 – 6 ครั้งต่อเดือน เหตุผลในซื้อคือหาซื้อได้ง่ายตนเองเป็นผู้ดัดสินใจซื้อ มีวัตถุประสงค์เพื่อรับประทานเอง สินค้าที่ซื้อเป็นประจำคือเนื้อหมูหมักเนื้อหมูสไลด์ (2) ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดด้านผลิตภัณฑ์ ราคา และช่องทางการจัดจำหน่ายมีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อ อยู่ในระดับมาก ขณะเดียวกัน ด้านการส่งเสริมการตลาด มีอิทธิพลน้อยที่สุด อยู่ในระดับปานกลาง (3) ปัจจัยด้านประชากรศาสตร์ในด้านอายุมีความสัมพันธ์กับปัจจัย ส่วนประสมทางการตลาดด้านราคาและการส่งเสริมการตลาด และด้านร้ายได้เฉลี่ยต่อเดือนมีความสัมพันธ์กับ การส่งเสริมการตลาด (4) พฤติกรรมการซื้อในส่วนของเหตุผลในการซื้อบุคคลที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อและวัตถุประสงค์ในการซื้อ มีความสัมพันธ์กับช่องทางการจัดจำหน่ายth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectพฤติกรรมผู้บริโภค--ไทย--ราชบุรีth_TH
dc.subjectเนื้อสุกรth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleพฤติกรรมของผู้บริโภคในการซื้อผลิตภัณฑ์เนื้อสุกรแปรรูปในเขตจังหวัดราชบุรีth_TH
dc.title.alternativeBuying behavior of the consumers on processed pork products in the zone of Ratchaburi Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study are to (1) study the consumer buying behavior of processing pork products in the zone of Ratchaburi Province, (2) study the marketing mix factors influencing consumer buying behavior of processing pork products in the zone of Ratchaburi Province, (3) study the relationship between demographic factors and marketing mix factors, and (4 ) study relationship between consumer buying behavior of processing pork products in the zone of Ratchaburi Province, and marketing mix factors. The studied populations are consumers in the zone of Ratchaburi Province, aged 20 years old and over, whereas certain number of populations was unknown. The size of samples was determined using the principle of Krejcie & Morgan (1970) for 310 persons and samples were randomly taken using Stratified Random Sampling Method. Questionnaire was used as instrument. Statistics applied in data analysis included Percentage, Mean, Standard Deviation, and Sample Relationship Analysis by Measurement of Chi Square The finding of the studying results indicated that: (1 ) most of respondents have preferred to buy processing pork products at fresh-food market, with buying frequency of 4 - 6 times per month, reason to buy due to easy to come by, self-decision maker, self-eating purpose, and regular buying goods in fermented pork and slice pork, (2) marketing mix factors in the aspects of product, price, and distribution channel influencing buying decision making in high level while marketing promotion influencing buying decision making in lowest level, were in moderate level, (3) demographic factor in the aspect of age was related to marketing mix factors in the aspects of price and marketing promotion, and demographic factor in the aspect of monthly income was related to marketing mix factor in the aspect of marketing promotion, and ( 4 ) buying behavior in part of reason to buy, individual affecting buying decision making and buying purpose were related to distribution channel.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_160377.pdfเอกสารฉบับเต็ม12.11 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons