Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8572
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธนชัย ยมจินดาth_TH
dc.contributor.authorเจริญชัย ทวีอภิรดีเสนา, 2530-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-08-08T02:39:51Z-
dc.date.available2023-08-08T02:39:51Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8572en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาการรับรู้เกี่ยวกับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ของผู้ประกอบการร้านอาหาร ในอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ (2) ศึกษาระดับความสำคัญของการใช้ กลยุทธ์เชิงบริการของผู้ประกอบการร้านอาหารในอำเภอเมืองจังหวัดเชียงใหม่ และ(3)เปรียบเทียบกลยุทธ์เชิงบริการของผู้ประกอบการร้านอาหาร ในอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ จำแนกตามลักษณะผู้ประกอบการประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้คือ ผู้ประกอบการร้านอาหารขนาดเล็กและแผงลอย ที่ ได้รับป้ายสัญลักษณ์อาหารสะอาด รสชาติอร่อย จังหวัดเชียงใหม่ ประจำปี 2556 เป็นร้านอาหารที่อยู่ใน เขตอำเภอเมือง ได้แก่ อำเภอเมือง (เทศบาลนคร) และอำเภอเมือง (สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ) จำนวน ทั้งสิ้น 1,517 ร้าน ขนาดกลุ่มตัวอย่างกำหนดที่ระดับความเชื่อมั่น 95% ซึ่งคำนวณจากสูตรความคลาดเคลื่อนมาตรฐานได้ผู้ประกอบการร้านอาหารขนาดเล็กจำนวน 276 ร้าน และผู้ประกอบการร้านอาหารแผงลอย จำนวน 41 ร้าน รวมทั้งสิ้น 317 ร้าน ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิง อนุมานได้แก่ การทดสอบค่าเอฟ ผลการศึกษาพบว่า (1) การรับรู้เกี่ยวกับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในแต่ละด้านของ ผู้ประกอบการร้านอาหาร พบว่า มีการรับรู้ทางด้านนโยบายภาครัฐ ร้อยละ 64.20 ด้านวัฒนธรรม ร้อยละ 60.47 ด้านการเรียนรู้ร้อยละ 51.00 และด้านเศรษฐกิจ ร้อยละ 33.28 (2)ระดับความสำคัญของการใช้ กลยุทธ์เชิงบริการของผู้ประกอบการร้านอาหาร โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้านผลิตภัณฑ์อยู่ในระดับมากที่สุด รองลงมา ด้านกระบวนการทางกายภาพ ด้านช่องทางการจัด จำหน่าย ด้านพนักงาน และด้านกระบวนการทำงาน ตามลำดับ และ (3) การเปรียบเทียบกลยุทธ์เชิงบริการ ของผู้ประกอบการร้านอาหาร ในอำเภอเมือง ชังหวัดเชียงใหม่ พบว่า ลักษณะผู้ประกอบการที่แตกต่าง กันใช้กลยุทธ์เชิงบริการด้านราคา ด้านช่องทางการจัดจำหน่าย ด้านส่งเสริมการขาย ด้านพนักงาน ด้านกระบวนการทำงาน และด้านกระบวนการทางกายภาพ แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนth_TH
dc.subjectร้านอาหาร--ไทย--เชียงใหม่th_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleการรับรู้เกี่ยวกับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนและกลยุทธ์เชิงบริการของผู้ประกอบการร้านอาหาร ในอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่th_TH
dc.title.alternativePerception of AEC and services strategies of restaurant entrepreneur in Muang District, Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of the study were (1) to study the perceptions of AEC of restaurant entrepreneurs in Muang district, Chiang Mai province; (2) to study the significant level of service strategies of restaurant entrepreneurs in Muang district, Chiang Mai province; and (3) to compare service strategies of restaurant entrepreneurs in Muang district, Chiang Mai province classified by restaurant entrepreneurs’ types. The total population was 1,517 small restaurant and stall entrepreneurs received “Clean Food Good Taste” signs of Chiang Mai province in 2013 located in Muang district: Muang district (Chiang Mai Municipality) and Muang district (District Public Health Office). The sample was 317 entrepreneurs consisted of 276 small restaurant entrepreneurs and 41 stall entrepreneurs. The data was collected by using a questionnaire and was analysed by using descriptive statistics: frequency, percent, mean, standard deviation and inferential statistic: F-test. The results showed that (1) the restaurant entrepreneurs’ perceptions of AEC on government policy (64.20%), culture (60.47%), learning (51%) and economic (33.28%); (2) overall the significant level of service strategies of restaurant entrepreneurs was high. Considering each aspects, product, physical, place, people and process were significant at high level respectively; and (3) Comparing service strategies of restaurant entrepreneurs in Muang district, Chiang Mai province, it was found that different entrepreneurs used different service strategies: price, place, promotion, people, process and physical at 0.05 statistical significance.en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
140165.pdfเอกสารฉบับเต็ม10.4 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons