Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8582
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorราณี อิสิชัยกุล, อาจารยืที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorพีระวุฒิ กุญชร ณ อยุธยา, 2506-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-08-08T03:21:14Z-
dc.date.available2023-08-08T03:21:14Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8582en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ปัจจัยส่วนประสมการตลาดบริการของโรงแรมเดี่ยว ระดับ 4-5 ดาว ของนักท่องเที่ยวชาวยุโรปในจังหวัดภูเก็ต 2) เปรียบเทียบความคิดเห็นของนักท่องเที่ยวชาวยุโรป เกี่ยวกับกระบวนการตัดสินใจเลือกโรงแรมเดี่ยว ระดับ 4-5 ดาว ในจังหวัดภูเก็ต จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล และ 3 ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการตัดสินใจเลือกโรงแรมเดี่ยวระดับ 4-5 ดาว ของนักท่องเที่ยวชาวยุโรป ในจังหวัดภูเก็ตการศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากร คือ นักท่องเที่ยวชาวยุโรปที่เดินทางมาท่องเที่ยวในจังหวัดภูเก็ต จำนวน 4148, 194 คน คำนวณขนาดตัวอย่างโดยการใช้สูตรของทาโร ยามาเน่ ที่มีค่าความคลาดเคลื่อนที่ 0.10 ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 200 คน ใช้วิธีการสุ่มแบบโควตา เครื่องมือในการศึกษาเป็นแบบสอบถาม การวิเคราะห์ ข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณนา คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน คือ การวิเคราะห์ค่าที ค่าเอฟ และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ ผลการศึกษาพบว่า 1) กลุ่มตัวอย่างให้ความสำกัญกับปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดอยู่ในระดับมากในภาพรวม เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ด้านบุคลากร ด้านกายภาพ ด้านกระบวนการให้บริการ ด้านราคาและด้านผลิตภัณฑ์ ให้ความสำคัญในระดับมาก ส่วนด้านช่องทางการจัดจำหน่ายและค้านการส่งเสริมการตลาด ได้รับความสำคัญในระดับปานกลาง 2) กลุ่มตัวอย่างที่มีระดับการศึกษาและอาชีพที่แตกต่างกันมีกระบวนการตัดสินใจซื้อสินค้าและบริการแตกต่างกันอย่างมีนัยสำกัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 3) ผลการวิเคราะห์ปัจจัยส่วนประสมการตลาด ในด้านการส่งเสริมการตลาด ด้านบุคลากร ด้านกระบวนการให้บริการ และด้านลักษณะทางกายภาพมีความสัมพันธ์เชิงบวกในระดับปานกลางกับกระบวนการตัดสินใจเลือกใช้บริการโรงแรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.01th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารธุรกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectโรงแรม--ระบบการจอง--ไทย--ภูเก็ตth_TH
dc.subjectที่พักนักท่องเที่ยวth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารธุรกิจth_TH
dc.titleปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการตัดสินใจเลือกโรงแรมเดี่ยวระดับ 4-5 ดาว ของนักท่องเที่ยวชาวยุโรปในจังหวัดภูเก็ตth_TH
dc.title.alternativeFactors related to buying decision of 4-5 star stand-alone hotels of European tourists in Phuket Provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of tshis study were: (1) to study the marketing mix factors of 4-5 star stand-alone hotels of European tourists in Phuket Province; (2) to compare opinions toward buying decision process of 4-5 star stand-alone hotels of European tourists in Phuket Province, classified by their personal charateristics; and (3) to study factors related to the buying decision process factors of 4-5 star stand-alone hotels of European tourists in Phuket Province. This study was a survey research. The population was 4,148,194 European tourists who travelled to Phuket from January to October 2018. The sample size was calculated by Taro Yamane Formula, as a total of 200 samples using a quota sampling method. A questionnaire on the marketing mix factors and consumers’ decision-making process was used for data collection. Descriptive statistical analysis included frequency, mean, standard deviation, t-test, ANOVA, and inferential statistical analysis were t-test, F-test, and Pearson correlation. The results showed that (1) the respondents perceived the importance level of overall marketing mix factors at a high level. Personnel, physical appearance, process, price and products factors were at a high level while place and promotion factors were perceived as moderately important. (2) The respondents with different education and occupation had different buying decision-making process at statistical significance of 0.01 level. (3) Promotion, personnel, service process, and physical evidence factors of the marketing mix factors had a significantly positive relationship to the consumers’ buying decision-making process at a moderate level (p > 0.01).en_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_161107.pdfเอกสารฉบับเต็ม11.75 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons