Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8589
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมคิด พรมจุ้ยth_TH
dc.contributor.authorวนิดา เกื้อกูล, 2500-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-08-08T03:56:47Z-
dc.date.available2023-08-08T03:56:47Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8589en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การวัดและประเมินผลการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2555th_TH
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ประเมินปัจจัยเบื้องต้น (2) ประเมินกระบวนการดำเนินงาน และ (3) ประเมินผลผลิตและผลกระทบของโครงการพัฒนาความสามารถในการทำโครงงานวิทยาศาสตร์ของผู้เรียน ในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานอาชีวศึกษาจังหวัดชุมพร กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย ประกอบด้วย (1) นักเรียน นักศึกษา จำนวน 500 คน (2) ผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 30 คนและครูผู้สอนวิชาวิทยาศาสตร์ จำนวน 14 คน (3) ผู้บริหารและครูผู้สอนฯ ที่ร่วมกิจกรรมการประกวดระดับสถานศึกษา จำนวน 11 คน ระดับจังหวัดจำนวน 3 คน และ (4) ครูที่ไม่ใช่ครูวิทยาศาสตร์ เจ้าหน้าที่และนักเรียน นักศึกษา ที่ร่วมกิจกรรมการประกวดระดับสถานศึกษาจำนวน 178 คน และระดับจังหวัดจำนวน 75 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม แบบทดสอบวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และแบบวัดเจตคติทางวิทยาศาสตร์ ทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ ค่า ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัย พบว่า (1) ด้านปัจจัยเบื้องต้นของโครงการ ซึ่งประกอบด้วย บุคลากร สถานที่ เอกสารและอุปกรณ์ที่ใช้ในการจัดกิจกรรมโดยภาพรวม พบว่ามีความพร้อมอยู่ในระดับมาก ผ่านเกณฑ์การประเมิน ยกเว้นงบประมาณในกิจกรรมการเรียนการสอนมีความพอเพียงอยู่ในระดับปานกลางไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน (2) ด้านกระบวนการดำเนินงานของโครงการ ประกอบด้วย การประชาสัมพันธ์ การวางแผน การดำเนินการตามโครงการและการประเมินผลการดำเนินงาน โดยภาพรวมพบว่า มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก ผ่านเกณฑ์การประเมิน ยกเว้นการวางแผนการดำเนินกิจกรรมการประกวด มีความเหมาะสมอยู่ในระดับปานกลาง ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน (3) ด้านผลผลิตของโครงการพบว่า จำนวนนักเรียนนักศึกษาที่มีคะแนนการทดสอบทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ คะแนนความสามารถในการทำโครงงานวิทยาศาสตร์และคะแนนเจตคติทางวิทยาศาสตร์ ผ่านเกณฑ์การประเมินทั้งหมด ผลกระทบที่เกิดกับสถานศึกษา และนักเรียนนักศึกษาในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ผ่านเกณฑ์การประเมินth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการวัดและประเมินผลการศึกษา--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectโครงงานวิทยาศาสตร์--การประเมินth_TH
dc.titleการประเมินโครงการพัฒนาความสามารถในการทำโครงงานวิทยาศาสตร์ของผู้เรียนในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานอาชีวศึกษาจังหวัดชุมพรth_TH
dc.title.alternativeEvaluation of the project to develop ability to conduct science projects of learners in colleges under the Office of Chumphon Vocational Educationen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were (1) to evaluate the input, (2) to evaluate the process, and (3) to evaluate the output and impact of the Project to Develop Ability to Conduct Science Projects of Learners in colleges under the Office of Chumphon Vocational Education. The research sample comprised (1) a group of 500 students; (2) a group of 30 college administrators and 14 science teachers; (3) a group of 11 college administrators and teachers who participated in the science projects contest activities at the college level, and three college administrators and teachers who participated in the contest activities at the provincial level; and (4) a group of 178 non-science subject teachers, personnel, and students who participated in the science projects contest activities at the college level, and 75 non-science subject teachers, personnel, and students who participated in the contest activities at the provincial level. The employed research instruments were a questionnaire, a test of science process skills, and a scale to assess scientific attitude. Research data were analyzed using the frequency, percentage, mean, standard deviation, and content analysis. Research findings were as follows: (1) Regarding the input of the project which comprised the personnel, buildings and facilities, documents, and equipment employed for organizing the project activities, it was found that readiness of the input as a whole was at the high level and passed the evaluation criteria, excepting that of the budget for instructional activities which was appropriate at the moderate level and did not pass the evaluation criteria. (2) Regarding the process of the project which comprised the public relations, planning, project operation, and project evaluation, it was found that the process as a whole was appropriate at the high level and passed the evaluation criteria, excepting the planning for the operation of the contest activities which was appropriate at the moderate level and did not pass the evaluation criteria. (3) Regarding the output of the project, it was found that science process skills scores, science project conducting ability scores, and scientific attitude scores of all students passed the evaluation criteria; as for the impact of the project, it was found that the overall impact on the colleges and the students was at the high level and passed the evaluation criteria.en_US
dc.contributor.coadvisorเพชรผ่อง มยูขโชติth_TH
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
134835.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.71 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons