Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8614
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุขอรุณ วงษ์ทิม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorวลัยพร ประสานพันธ์, 2519-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-08-08T07:22:28Z-
dc.date.available2023-08-08T07:22:28Z-
dc.date.issued2559-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8614en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบการคิดเชิงระบบของนักเรียนกลุ่ม ทดลองก่อนและหลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนว และ 2) เปรียบเทียบการคิดเชิงระบบของนักเรียนกลุ่มทดลองที่ใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาการคิดเชิงระบบและของกลุ่มควบคุมที่ใช้กิจกรรมแนะแนวปกติ รูปแบบการวิจัย เป็นการวิจัยเชิงกึ่งทดลอง มีกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม วัดก่อนและหลังการทดลองกลุ่มตัวอย่าง เป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 1 ห้องเรียน โรงเรียนวัดราษฎร์นิยมธรรม (พิบูลสงคราม) กรุงเทพมหานคร จำนวน 30 คน ที่ได้มาจากการสุ่มแบบกลุ่มและสุ่มอย่างง่าย เพื่อแบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 15 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แบบทดสอบการคิดเชิงระบบที่มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .83 และ 2) ชุดกิจกรรม แนะแนวเพื่อ พัฒนาการคิด!ชิงระบบ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยปรากฏว่า 1) นักเรียนกลุ่มทดลองที่ใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาการคิด!ชิงระบบ มีความคิดเชิงระบบสูงกว่า ก่อนการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ .01 และ 2) ภายหลังการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาการคิดเชิงระบบ นักเรียนกลุ่มทดลอง มีความคิดเชิงระบบสูงกว่าของนักเรียนกลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectความคิดและการคิด--กิจกรรมการเรียนการสอนth_TH
dc.subjectความคิดและการคิด--การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)th_TH
dc.subjectนักเรียนประถมศึกษา--ไทย--กรุงเทพฯth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--การแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยาth_TH
dc.titleผลการใช้ชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อพัฒนาการคิดเชิงระบบ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนวัดราษฎร์นิยมธรรม (พิบูลสงคราม) กรุงเทพมหานครth_TH
dc.title.alternativeThe effects of using a guidance activities package to develop systematic thinking of Prathom Suksa VI Students of Wat Ratniyomtham (Phibul Songkhram) School in Bangkok Metropolisen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were (1) to compare the scores of systematic thinking of the experimental group students before and after using a guidance activities package; and (2) to compare the score of systematic thinking of the experimental group students who used the guidance activities package to develop systematic thinking with that of the control group students who participated in the normal guidance activities. This research was a quasi-experimental research with the pre-test, post-test non-equivalent control group design. The research sample consisted of 30 Prathom Suksa VI students in an intact classroom of Wat Ratniyomtham (Phibul Songkhram) School in Bangkok Metropolis obtained by cluster sampling. Then, they were randomly assigned into an experimental group and a control group, each of which consisting of 15 students. The employed research instruments were (1) a test on systematic thinking, with reliability coefficient of .83; and (2) a guidance activities package to develop systematic thinking. Data were analyzed using the mean, standard deviation, and t-test. The research findings showed that (1) after using the guidance activities package to develop systematic thinking, the post-experiment systematic thinking scores of the experimental group students were significantly higher than their pre – experiment counterpart scores at the .01 level; and (2) after using the guidance activities package to develop systematic thinking, the post-experiment systematic thinking scores of the experimental group students were significantly higher than the counterpart scores of the control group students at the .01 level.en_US
Appears in Collections:Edu-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_154731.pdfเอกสารฉบับเต็ม8.23 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons