Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8620
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมาลี สุรเชษฐ, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorครรชิต โล่ห์คำ, 2515-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.date.accessioned2023-08-08T07:46:58Z-
dc.date.available2023-08-08T07:46:58Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8620-
dc.description.abstractการศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวคิด ทฤษฎีเกี่ยวกับการลงโทษทาง อาญา, ยุติธรรมทางเลือกและแนวนโยบายของรัฐเกี่ยวกับการคุ้มครองป่าและป้องกันการบุกรุกป่า กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการลงโทษทางอาญาและการบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับการบุกรุกพื้นที่ป่า สงวนแห่งชาติ ความเป็นมาและมาตรการทางกฎหมายต่อผู้บุกรุกป่าสงวนแห่งชาติพร้อมคำพิพากษา ที่เกี่ยวข้อง วิเคราะห์ปัญหาในการบังคับใช้กฎหมายเพื่อป้องกันการบุกรุกพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ ศึกษาแนวทางการบังคับใช้กฎหมายและมาตรการทางกฎหมายที่เหมาะสมในการแก้ไขปัญหาการบุกรุกพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพด้วยวิธีวิจัยเอกสารจากการศึกษา ค้นคว้าตัวบทกฎหมาย ตำราวิชาการต่าง ๆ ทั้งที่เป็นภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ บทความ รายงานการวิจัย วิทยานิพนธ์ และการค้นคว้าวิจัยข้อมูลที่เกี่ยวข้องจากเว็บไซต์ต่าง ๆ เพื่อรวบรวม ข้อมูลทั้งหลายมาทำการศึกษา วิเคราะห์และเรียบเรียงอย่างเป็นระบบ ผลการศึกษาพบว่า ภาครัฐมีความพยายามในการแก้ไขปัญหาการบุกรุกพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติมาอย่างต่อเนื่อง โดยใช้แนวทางตามหลักนิติศาสตร์คือการแก้ไขกฎหมายให้มีบทลงโทษที่สูงขึ้นและแนวทางตามหลักรัฐศาสตร์คือการใช้นโยบายของรัฐต่าง ๆ เพื่อแก้ไขปัญหาราษฎรที่บุกรุก พื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ อย่างไรก็ดีปัญหาการบุกรุกพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติยังคงปรากฏอย่างต่อเนื่อง จำนวนคดีเกี่ยวกับการบุกรุกพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติไม่มีแนวโน้มลดลง ดังนั้นการลงโทษผู้บุกรุกโดยบทบัญญัติของกฎหมายในปัจจุบันไม่สามารถป้องกันหรือป้องปรามให้ผู้บุกรุกเกิดความหวาดกลัวต่อบทลงโทษที่จะได้รับ หรือแนวนโยบายของรัฐที่ผ่านมาไม่สามารถแก้ไขปัญหาการบุกรุกพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติได้อย่างเบ็ดเสร็จ ผู้ศึกษาจึงได้เสนอแนวทางการแก้ไขปัญหาการบุกรุกพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ โดยใช้แนวทางการลงโทษเชิงสมานฉันท์ต่อผู้บุกรุกที่เป็นผู้ยากไร้และการลงโทษอย่างรุนแรง เฉียบ ขาดต่อผู้บุกรุกที่เป็นนายทุน โดยมีแนวทางของรัฐที่เหมาะสมเพื่อให้ราษฎรผู้ยากไร้ได้อยู่อาศัยในพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติตามสมควรและภาครัฐได้ รักษา ฟื้นฟู พื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติอย่างยั่งยืนth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชานิติศาสตร์ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิชาเอกกฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรม --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectป่าสงวน--กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ.--ไทยth_TH
dc.subjectการบุกรุก--กฎหมายและระเบียบข้อบังคับth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--กฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรมth_TH
dc.titleปัญหาการบุกรุกพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติth_TH
dc.title.alternativeThe problem of national reserved forests encroachmenten_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชานิติศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis independent research has an objective to study ideas and theories about criminal punishments, alternative dispute resolution (ADR), governmental policies related to forest protection and forest encroachment prevention, laws and law enforcement concerning criminal punishments against cases of national reserved forests encroachment, as well as background of legal measures and relevant verdicts against encroachers on national reserved forests. Additionally, the research analyzes causes of failure in enforcement of laws intended to prevent national reserved forest encroachment in order to figure out appropriate approaches and measures for solving the encroachment problem. As a qualitative research, this research implemented multiple methods including researching academic documents, exploring laws, academic textbooks, articles, researches, papers, and theses in Thai and in foreign languages, and retrieving relevant contents from various websites in order to collect useful data for studying, analyzing, and composing systematically. The study results reveal that the government has been trying to solve the problem of encroachment in national reserved forests continuously by relying on both the principle of laws, which is to revise the laws for stronger punishments, and the principle of politics, which is to implement governmental policies for preventing people from invading forest areas. However, the problem of national reserved forests encroachment persists relentlessly. The number of criminal cases related to such encroachment has no sign of declining. That means the punishments applied to encroachers based on provisions under the current laws are unable to prevent, subdue, or scare them. In addition, the previous and ongoing policies of the government cannot solve the encroachment problem completely. Therefore, the researcher suggests an approach for solving this problem by applying restorative punishments to encroachers who are poor and severe punishments to encroachers who are capitalists. Meanwhile, there must be appropriate solutions of the government to allow poor people to reside rationally in national reserved forests so that it can reserve, conserve, and rehabilitate national reserved forests for their sustainabilityen_US
Appears in Collections:Law-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Fulltext_161861.pdfเอกสารฉบับเต็ม19.24 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons