Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8622
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจำเนียร ราชแพทยาคม, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorยุภาพร รัตนบุรี-
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.date.accessioned2023-08-08T07:50:54Z-
dc.date.available2023-08-08T07:50:54Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8622-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ระดับผลสัมฤทธิ์ของการพัฒนาสมรรถนะการบริหาร ทรัพยากรบุคคลด้านธุรการของสำนักงานอัยการสูงสุด (2) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยสภาพแวดล้อมกับ ผลสัมฤทธิ์ของการพัฒนาสมรรถนะการบริหารทรัพยากรบุคคลด้านธุรการของสำนักงานอัยการสูงสุด และ (3) แนวทางการพัฒนาสมรรถนะการบริหารทรัพยากรบุคคลด้านธุรการของสำนักงานอัยการสูงสุด การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรที่ใช้ในการศึกษาคือ ข้าราชการธุรการสังกัด สำนักงานอัยการสูงสุด จำนวน 920 คน ขนาดกลุ่มตัวอย่างจำนวน 279 คน คำนวณ โดยใช้สูตรของทาโร ยามาเน่ ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% และวิธีการสุ่มแบบชั้นภูมิอยางเป็นสัดส่วน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบ สถิติค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ส่วนการวิเคราะห์ข้อมูลคุณภาพใช้การวิเคราะห์เนื้อหา ผลการศึกษาพบว่า (1) ระดับผลสัมฤทธิ์ของการพัฒนาสมรรถนะการบริหารทรัพยากรบุคคลด้าน ธุรการของสำนักงานอัยการสูงสุดในภาพรวม อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า มิติที่ 5 ด้าน คุณภาพชีวิตและความสมดุลระหว่างชีวิตกับการทำงาน อยู่ในระดับมากที่สุด โดยมิติที่ 4 ด้านความพร้อมรับผิด ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล อยู่ในระดับน้อยที่สุด (2) ปัจจัยสภาพแวดล้อมภายในองค์การมีความสัมพันธ์ เชิงบวกในระดับสูงกับผลสัมฤทธิ์ของการพัฒนาสมรรถนะการบริหารทรัพยากรบุคคลด้านธุรการของสำนักงาน อัยการสูงสุด และปัจจัยสภาพแวดล้อมภายนอกองค์การมีความสัมพันธ์เชิงบวกในระดับปานกลางกับผลสัมฤทธิ์ ของการพัฒนาสมรรถนะการบริหารทรัพยากรบุคคลด้านธุรการของสำนักงานอัยการสูงสุด และ (3) ข้อเสนอแนะ แนวทางการพัฒนาสมรรถนะการบริหารทรัพยากรบุคคลด้านธุรการของสำนักงานอัยการสูงสุด คือ ควรนำ เทคนิคการสร้างองค์การแห่งการเรียนรู้มาใช้ และให้ความสำคัญกับบทบาทและกระบวนการบริหารทรัพยากร บุคคลของหน่วยงาน โดยเฉพาะการพัฒนาสมรรถนะและปรับปรุงงานการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของสำนักงาน อัยการสูงสุดให้มีศักยภาพเพิ่มขึ้น โดยจะเน้นเรื่องการฝึกอบรมเป็นหลัก การส่งเสริมด้านการศึกษา ส่งเสริม การทำวิจัยในองค์การ การจัดการความรู้ และการพัฒนาเส้นทางอาชีพth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/-
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาวิทยาการจัดการ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาบริหารรัฐกิจ --การศึกษาเฉพาะกรณีth_TH
dc.subjectสำนักงานอัยการสูงสุด--ข้าราชการ--การพัฒนาบุคลากรth_TH
dc.subjectการศึกษาอิสระ--บริหารรัฐกิจth_TH
dc.titleปัจจัยสภาพแวดล้อมที่มีความสัมพันธ์กับผลสัมฤทธิ์ของการพัฒนาสมรรถนะการบริหารทรัพยากรบุคคลด้านธุรการของสำนักงานอัยการสูงสุดth_TH
dc.title.alternativeEnvironmental factors relating to the achievement of competency development of human resource management of the Attorney General’s Officeth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาวิทยาการจัดการth_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this study were: (1) to study achievement level of competency development of human resource management for general service officers of Office of the Attorney General; (2) to study the relationship between environment and achievement of competency development of human resource management for general service officers of Office of the Attorney General; and (3) to propose guidelines for the development of competency development of human resource management for general service officers of Office of the Attorney General. This study was a survey research. Population was 920 general service officers and samples were 279 units calculated by using Taro Yamane calculation formula. Sampling method was stratified random sampling. Research tool was a questionnaire. Data analysis employed descriptive statistics that were frequency, mean, percentage and standard deviation, whereas inferential statistics employed Pearson’s Correlation Coefficient. Qualitative data analysis method employed content analysis. The findings revealed that: (1) an overall image of achievement level of competency development of human resource management for general service officers of Office of the Attorney General was at high level. Considered by each aspect, it was found that quality of working life and work-life balance was at the highest mean and accountability aspect was at the lowest mean; (2) internal environment factor had highly positive correlation with achievement level of competency development of human resource management for general service officers of Office of the Attorney General. Considered by each aspect, it was found that organization system was at the highest level. External environment factor had moderately positive correlation with achievement level of competency development of human resource management for general service officers of Office of the Attorney General. Considered by each aspect, it was found that technology aspect was at the highest mean; and (3) the proposed guidelines for the development of competency development of human resource management were there should apply technique of learning organization and give important to the role and human resource management process, particularly competency development and human resource development procedure focusing on training, studying, doing research, knowledge management and career path developmenten_US
Appears in Collections:Manage-Independent study

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
158532.pdfเอกสารฉบับเต็ม21.65 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons