Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8638
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนลินี ณ นคร, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorสังวรณ์ งัดกระโทก, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorเบญจมาพร แสงจันทร์, 2528--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-08-09T02:20:41Z-
dc.date.available2023-08-09T02:20:41Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8638-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินอิทธิพลของโอกาสทางการศึกษาของครอบครัวต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ความฉลาดทางอารมณ์ แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ และนิสัยในการเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 อาเภอนครหลวง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ประชากรเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ในอาเภอนครหลวง จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จานวน 413 คน เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบแบ่งกลุ่ม ได้กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 กลุ่มศรีทักษิณ จานวน 262 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยมี 2 ฉบับ ดังนี้ ฉบับที่ 1 เป็นแบบบันทึกผลคะแนนการทดสอบระดับชาติ (O-NET) ฉบับที่ 2 เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับโอกาสทางการศึกษาของครอบครัว ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ความฉลาดทางอารมณ์ แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ และนิสัยในการเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 การวิเคราะห์อิทธิพลของโอกาสทางการศึกษาใช้การวิเคราะห์การถดถอย ผลการวิจัยสรุปได้ว่า (1) ตัวแปรโอกาสทางการศึกษาที่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ได้แก่ เพศ มีความสัมพันธ์กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนโดยพบว่าเพศชายมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ากว่าเพศหญิง นักเรียนที่มีบิดาจบมัธยมศึกษาตอนต้นมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ากว่านักเรียนที่มีบิดาจบประถมศึกษา และครอบครัวที่มีรายได้ต่อเดือนมากกว่า 10,000 บาท มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่าครอบครัวที่มีรายได้ต่อเดือนน้อยกว่า 10,000 บาท (2) ตัวแปรโอกาสทางการศึกษาที่มีผลต่อความฉลาดทางอารมณ์ ได้แก่ นักเรียนที่เป็นลูกคนเดียวจะมีความฉลาดทางอารมณ์น้อยกว่าลูกที่มีพี่น้องหลายคน นักเรียนที่มีบิดาจบ ปวช. หรือ ปวส. มีความฉลาดทางอารมณ์สูงกว่านักเรียนที่มีบิดาจบประถมศึกษา และนักเรียนที่มีมารดาจบมัธยมศึกษาตอนต้นมีความฉลาดทางอารมณ์น้อยกว่านักเรียนที่มีมารดาจบประถมศึกษา (3) ตัวแปรโอกาสทางการศึกษาที่มีผลต่อแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ ได้แก่ นักเรียนที่มีมารดาจบมัธยมศึกษาตอนปลายมีแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์สูงกว่านักเรียนที่มีมารดาจบประถมศึกษา (4) ตัวแปรโอกาสทางการศึกษาที่มีผลต่อนิสัยในการเรียน ได้แก่ เพศชายมีนิสัยในการเรียนน้อยกว่าเพศหญิง และนักเรียนที่มีมารดาประกอบอาชีพค้าขาย/ประกอบอาชีพส่วนตัวจะมีนิสัยในการเรียนน้อยกว่านักเรียนที่มีมารดาประกอบอาชีพลูกจ้าง รับจ้างและเกษตรกรth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2012.154en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการวัดและประเมินผลการศึกษา -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectการจูงใจในการศึกษาth_TH
dc.subjectความฉลาดทางอารมณ์th_TH
dc.subjectการศึกษา -- การมีส่วนร่วมของบิดามารดาth_TH
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนth_TH
dc.titleการประเมินอิทธิพลของโอกาสทางการศึกษาของครอบครัวต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ความฉลาดทางอารมณ์ แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ และนิสัยในการเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 อำเภอนครหลวง จังหวัดพระนครศรีอยุธยาth_TH
dc.title.alternativeAssessment of the influence of family educational opportunity on learning achievement, emotional intelligence, achievement motivation, and learning habits of Prathom Suksa VI students in Nakhon Luang District, Phra Nakhon Si Ayutthaya Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThis research aimed to assess the influence of family educational opportunity on learning achievement, emotional intelligence, achievement motivation, and learning habits of Prathom Suksa VI students in Nakhon Luang district, Phra Nakhon Si Ayutthaya province. The research population comprised 413 Prathom Suksa VI students in Nakhon Luang district, Phra Nakhon Si Ayutthaya province. The research sample consisted of 262 Prathom Suksa VI students from Si Taksin School Cluster, obtained by cluster sampling. Two research instruments were employed: the first instrument was a form for recording ONET-test scores of students, and the second instrument was a questionnaire on family educational opportunity, learning achievement, emotional intelligence, achievement motivation, and learning habits of Prathom Suksa VI students. Regression analysis was the statistical procedure employed for analyzing the influence of family educational opportunity. The major research findings could be concluded as follows: (1) The family educational opportunity-related variable correlating with student’s learning achievement was the gender. It was found that learning achievement of males was lower than that of females. Students whose father completed lower secondary education had lower learning achievement than that of students whose father completed primary education. Students whose families had monthly income greater than 10,000 baht had higher learning achievement than that of students whose families had monthly income less than 10,000 baht. (2) Family educational opportunity-related variables affecting emotional intelligence were the number of siblings and parental education. It was found that students with no sibling had lower emotional intelligence than that of students who had more number of siblings. Students whose father completed the vocational education certificate program or the higher vocational certificate program had higher emotional intelligence than that of students whose father completed primary education, and students whose mother completed lower secondary education had lower emotional intelligence than that of students whose mother completed primary education. (3) The family educational opportunity-related variable affecting achievement motivation was the mother’s education. It was found that students whose mother completed higher secondary education had higher achievement motivation than that of students whose mother completed primary education. (4) Educational opportunity-related variables affecting learning habits of students included the gender and mother’s education. Males had worse learning habits than those of females, and students whose mothers were merchants or self-employed had worse learning habits than those of students whose mothers were hired workers, laborers or farmersen_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
137440.pdfเอกสารฉบับเต็ม3.43 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons