Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8639
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพักตร์ พิบูลย์th_TH
dc.contributor.advisorสุมาลี สังข์ศรีth_TH
dc.contributor.advisorวิทยานิพนธ์ (ศษ.ม. (การแนะแนว))--มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2555th_TH
dc.contributor.authorชนัญญู เผือกพรหม, 2511-th_TH
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-08-09T02:59:06Z-
dc.date.available2023-08-09T02:59:06Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8639-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อศึกษาสภาพระบบการให้บริการของศูนย์วิทย พัฒนา มสธ. นครศรีธรรมราช ในปัจจุบัน (2) เพื่อพัฒนาและประเมินระบบการให้บริการของศูนย์ วิทยพัฒนา มสธ. นครศรีธรรมราช กลุ่มตัวอย่าง ประกอบด้วย นักศึกษาและประชาชนผู้รับบริการ ในความรับผิดชอบ ของศูนย์วิทยพัฒนา มสธ. นครศรีธรรมราช จำนวน 350 คน บุคลากรของศูนย์วิทยพัฒนา มสธ. ทั้ง 10 แห่ง จำนวน 64 คน บุคลากรของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (ส่วนกลาง) ที่เกี่ยวข้องกับ ศูนย์วิทยพัฒนา มสธ. นครศรีธรรมราช จำนวน 55 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม แบบมาตรประมาณค่า 5 ระดับ จำนวน 3 ชุด สถิติที่ใช้ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน ส่วนข้อมูลที่ได้จากคำถามปลายเปิดใช้การวิเคราะห์เนื้อหา ผู้วิจัยนำร่างระบบการ ให้บริการที่พัฒนาขึ้นไปจัดสัมมนา (Focus Group) เพื่อขอรับการประเมินและข้อเสนอแนะจาก ผู้ทรงคุณวุฒิที่เกี่ยวข้องกับการให้บริการการศึกษาทางไกล จำนวน 12 คน ผลการวิจัยพบว่า (1) สภาพการให้บริการของศูนย์วิทยพัฒนา มสธ. นครศรีธรรมราช ในปัจจุบัน โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก (2) ระบบการให้บริการที่พัฒนาขึ้นจากสังเคราะห์แนวคิด ทฤษฏีที่เกี่ยวข้อง และจากการวิจัยภาคสนาม ประกอบด้วย 7 ด้าน คือ ด้านบริการข้อมูลข่าวสาร และการประชาสัมพันธ์ ด้านบริการแนะแนวการศึกษา ด้านบริการรับสมัคร-บริการงานทะเบียน ด้านบริการห้องสมุดและสื่อการศึกษา ด้านบริการวิชาการ-วิชาชีพแก่สังคม ด้านบริการและส่งเสริม กิจกรรมชมรมนักศึกษา ชมรมบัณฑิต และเครือข่าย และด้านบริการสถานที่-ห้องประชุมสัมมนา (3) ผลการประเมินระบบบริการจากผู้ทรงคุณวุฒิ พบว่า เป็นระบบที่มีเหมาะสมth_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2012.138en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาการศึกษานอกระบบ--วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. ศูนย์วิทยพัฒนา มสธ. นครศรีธรรมราช--บริการลูกค้าth_TH
dc.subjectบริการของสถาบันอุดมศึกษาth_TH
dc.titleการพัฒนาระบบการให้บริการของศูนย์วิทยพัฒนา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช นครศรีธรรมราชth_TH
dc.title.alternativeDeveloping of a service system of STOU Regional Distance Education Center in Nakhon Si Thammarat Provinceth_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to: (1) study the current state of the services system of the STOU Regional Distance Education Center in Nakhon Si Thammarat Province; (2) develop and assess the services system of the STOU Regional Distance Education Center in Nakhon Si Thammarat Province. The research samples consisted of 350 students and people who used the services of the STOU Regional Distance Education Center in Nakhon Si Thammarat, 64 staff members of all 10 STOU Regional Distance Education centers, and 55 staff members of related offices at STOU main campus. The research instruments were three sets of five rating scales questionnaire. The statistics used were; percentage, mean, and standard deviation. Data collected from open ended questions was analysed content analysis. The researcher proposed the draft version of the developed services system through the focus group to obtain comments and suggests from 12 experts involved with distance education services. Research finding were: (1) the overall state of the current services system of the STOU Regional Distance Education Center in Nakhon Si Thammarat was at good level, (2) the services system which was developed from synthesizing concerned theories and the results of the field research consists of 7 aspects: public relations and information services, educational guidance services, application and registration services, educational media and library services, academic and vocational services for society, student activities services, and facility and accommodation services, and (3) the experts assessed that the developed services system was ‘suitable.’en_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
137453.pdfเอกสารฉบับเต็ม4.68 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons