Please use this identifier to cite or link to this item: https://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8642
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวาสนา ทวีกุลทรัพย์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.advisorศันสนีย์ สังสรรค์อนัต์, อาจารย์ที่ปรึกษาth_TH
dc.contributor.authorกุลธิดา คำพานิชย์, 2529--
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบัณฑิตศึกษาth_TH
dc.date.accessioned2023-08-09T03:35:27Z-
dc.date.available2023-08-09T03:35:27Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttps://ir.stou.ac.th/handle/123456789/8642-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบการเรียนการสอนวิชาภาษาไทยโดยอิงสื่อ อิเล็กทรอนิกส์เป็นสื่อหลัก สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาลพบุรี เขต 1 ประชากร ได้แก่ (1) ผู้บริหาร จำนวน 183 คน ครูผู้สอนวิชาภาษาไทย จำนวน 202 คน และนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 3,500 คน (2) ผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีการศึกษา จำนวน 6 คน และผู้เชี่ยวชาญด้านภาษาไทย จำนวน 2 คน รวมจำนวน 8 คน และ (3) ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 3 คน กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 353 คน ได้มาโดยการสุ่ม ตัวอย่างอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบสอบถามความต้องการระบบการเรียน การสอนวิชาภาษาไทยโดยอิงสื่ออิเล็กทรอนิกส์เป็นสื่อหลักของผู้บริหาร ครู และนักเรียน แบบระดม ความเห็นในการสนทนากลุ่ม และแบบประเมินคุณภาพระบบการเรียนการสอนสาหรับผู้ทรงคุณวุฒิ การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ความถี่ และการวิเคราะห์เนื้อหา จากผลการวิจัยพบว่า ระบบการเรียนการสอนวิชาภาษาไทยโดยอิงสื่ออิเล็กทรอนิกส์เป็นสื่อ หลักที่พัฒนาขึ้นประกอบด้วย 6 ขั้น คือ ขั้นที่ 1 สำรวจปัญหาและความต้องการเกี่ยวกับการเรียน การสอนวิชาภาษาไทย ขั้นที่ 2 พัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอน ขั้นที่ 3 ผลิตสื่ออิเล็กทรอนิกส์และ สื่อเสริม ขั้นที่ 4 จัดสภาพแวดล้อมทางการเรียน ขั้นที่ 5 ถ่ายทอดเนื้อหาและประสบการณ์ และขั้นที่ 6 ประเมินผลการเรียนการสอน และระบบการเรียนการสอนวิชาภาษาไทยดังกล่าวได้รับการประเมิน และรับรองจากผู้ทรงคุณวุฒิว่ามีคุณภาพในระดับดีและสามารถนาระบบไปใช้ได้th_TH
dc.formatapplication/pdfen_US
dc.language.isothth_TH
dc.publisherมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.relation.urihttps://www.doi.org/10.14457/STOU.the.2012.136en_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.rightsAttribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0)en_US
dc.rights.urihttps://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0/en_US
dc.sourceBorn digitalen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. แขนงวิชาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา -- วิทยานิพนธ์th_TH
dc.subjectภาษาไทย -- การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)th_TH
dc.subjectภาษาไทย -- การสอนด้วยสื่อth_TH
dc.titleการพัฒนาระบบการเรียนการสอนวิชาภาษาไทยโดยอิงสื่ออิเล็กทรอนิกส์เป็นสื่อหลัก สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลพบุรี เขต 1th_TH
dc.title.alternativeDevelopment of a Thai language instructional system using electronic media as the main media for Prathom Suksa VI students under the Office of Lopburi Primary Education Service Area 1th_TH
dc.typeThesisth_TH
dc.degree.nameศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิตth_TH
dc.degree.levelปริญญาโทth_TH
dc.degree.disciplineสาขาวิชาศึกษาศาสตร์th_TH
dc.degree.grantorมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชth_TH
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to develop a Thai language instructional system using electronic media as the main media for Prathom Suksa VI students under the Office of LopBuri Primary Education Service Area 1. The research population comprised (1) 183 administrators, 202 Thai language teachers and 3,500 Prathom Suksa VI students; (2) a total number of eight experts consisting of six educational technology experts and two Thai language experts; and (3) three specialists. The research sample consisted of 353 randomly selected Prathom Suksa VI students. The employed research instruments comprised questionnaires on the needs of administrators, teachers and students for the Thai language instructional system using electronic media as the main media, a form for brainstorming in focus group discussion, and an instructional system quality assessment form for the specialists. Data were analyzed using the percentage, mean, frequency, and content analysis. The research findings showed that the developed Thai language instructional system using electronic media as the main media comprised six steps, namely, Step 1: the survey of problems and needs concerning Thai language instruction, Step 2: the development of curriculum and instruction, Step 3: the production of electronic media and supplement media, Step 4: the arrangement of learning environment, Step 5: the imparting of contents and experience, and Step 6: the evaluation of instructional outcomes. The developed Thai language instructional system was evaluated and certified by the specialists as having good quality and being feasible for implementationen_US
Appears in Collections:Edu-Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
137457.pdfเอกสารฉบับเต็ม2.13 MBAdobe PDFView/Open


This item is licensed under a Creative Commons License Creative Commons